Generic selectors
Exact matches only
Search in title
Search in content
Search in posts
Search in pages

เงินได้ประเภทที่ 8

โดย ผศ.ดร.ยุทธนา ศรีสวัสดิ์ อาจารย์ประจำวิชากฎหมายภาษีอากร เงินได้ประเภทที่ 8 คือ เงินได้พึงประเมินที่ไม่สามารถจัดให้เข้ากลุ่มเงินได้ประเภทที่ 1 –

» รายละเอียด

เงินได้ประเภทที่ 7

โดย ผศ.ดร.ยุทธนา ศรีสวัสดิ์ อาจารย์ประจำวิชากฎหมายภาษีอากร เงินได้ประเภทที่ 7 คือ เงินได้พึงประเมินในรูปของ ค่ารับเหมาทั้งค่าแรงและค่าของ ที่ทำให้ผู้รับเงินมีหน้าที่ต้องเสีย

» รายละเอียด

เงินได้ประเภทที่ 6

โดย ผศ.ดร.ยุทธนา ศรีสวัสดิ์ อาจารย์ประจำวิชากฎหมายภาษีอากร เงินได้ประเภทที่ 6 คือ เงินได้พึงประเมินในรูปของค่าตอบแทนจากการ ประกอบวิชาชีพอิสระ ที่มีจำนวนไม่แน่นอนขึ้นอยู่กับปริมาณหรือความยากง่าย

» รายละเอียด

เงินได้ประเภทที่ 5

โดย ผศ.ดร.ยุทธนา ศรีสวัสดิ์ อาจารย์ประจำวิชากฎหมายภาษีอากร เงินได้ประเภทที่ 5 คือ เงินได้พึงประเมินในรูปของ ค่าเช่า รวมถึงรายได้จากการผิดสัญญาเช่าซื้อหรือผิดซื้อขายเงินผ่อน

» รายละเอียด

เงินได้ประเภทที่ 3

โดย ผศ.ดร.ยุทธนา ศรีสวัสดิ์ อาจารย์ประจำวิชากฎหมายภาษีอากร เงินได้ประเภทที่ 3 คือ เงินได้พึงประเมินในรูปของ ค่าลิขสิทธิ์ ค่าตอบแทนทรัพย์สินทางปัญญาหรือค่า

» รายละเอียด

เงินได้ประเภทที่ 2

โดย ผศ.ดร.ยุทธนา ศรีสวัสดิ์ อาจารย์ประจำวิชากฎหมายภาษีอากร เงินได้ประเภทที่ 2 คือ เงินได้พึงประเมิน ในรูปของ เงินค่าจ้างทั่วไป

» รายละเอียด

เงินได้พึงประเมิน

โดย ผศ.ดร.ยุทธนา ศรีสวัสดิ์ อาจารย์ประจำวิชากฎหมายภาษีอากร เงินได้ คือ อะไรก็ตามที่เราได้รับมาแล้วทำให้เรารวยขึ้น โดยเฉพาะเงินได้ที่ทำให้เรามีหน้าที่เสีย ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา กฎหมายจะเรียกชื่อเฉพาะว่า เงินได้พึงประเมิน เงินได้พึงประเมิน คือ เงินได้ที่กฎหมายบังคับให้เราต้องเอามาเสียภาษี ซึ่งโดยทั่วไปแล้วเงินได้ที่เราได้รับจะเป็นเงินได้พึงประเมินแทบทั้งสิ้น เว้นแต่จะมีกฎหมายจะเขียนเอาไว้อย่างชัดเจนว่าเงินได้ก้อนนั้นเป็น เงินได้ที่ได้รับยกเว้นภาษี

» รายละเอียด

ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา

โดย ผศ. ดร.ยุทธนา ศรีสวัสดิ์ อาจารย์ประจำวิชากฎหมายภาษีอากร ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา เป็นภาษีประเภทหนึ่งตาม ประมวลรัษฎากร โดยมี บุคคลธรรมดา เป็น ผู้เสียภาษี เมื่อตัวเองมีรายได้ ยิ่งมีเงินได้มาก อัตราภาษีจะยิ่งสูงแบบขั้นบันได ซึ่งปัจจุบัน อัตราภาษี สูงสุดอยู่ที่ 35% โดยมี กรมสรรพากร เป็นหน่วยงานผู้รับผิดชอบการจัดเก็บ

» รายละเอียด
iTAX คำนวณและวางแผนภาษี
(100K+)