ในฐานะปวงชนชาวไทยซึ่งโชคดีได้อยู่ใต้ร่มบรมพระบารมีของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ รัชกาลที่ 9 เรามีโอกาสได้เห็นโครงการในพระราชดำริจำนวนมากที่สร้างคุณประโยชน์นานัปการแก่พสกนิกรของพระองค์
วันนี้จึงขออนุญาตใช้พื้นที่นี้รวบรวมมูลนิธิซึ่งพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ รัชกาลที่ 9 ได้มีพระราชดำริให้จัดตั้งขึ้นตามพระราชปณิธานของพระองค์ รวมถึงองค์กรการกุศลสาธารณะในพระบรมราชูปถัมภ์ ที่ผู้บริจาคสามารถนำ เงินบริจาค ไป ลดหย่อนภาษี ได้ โดยเรียงตามลำดับของประกาศกระทรวงการคลังฯ สำหรับอ้างอิงเพื่อลดหย่อนภาษีด้วย
คำนวณสิทธิ์ลดหย่อนภาษีสำหรับเงินบริจาค
โดยปกติ เงินบริจาคทั่วไปใช้ลดหย่อนภาษีได้ ตามที่จ่ายจริง แต่ไม่เกิน 10% ของรายได้หลังหัก ค่าใช้จ่าย และค่าลดหย่อนอื่นๆ ที่ไม่ใช่เงินบริจาคแล้ว (อ้างอิงจาก มาตรา 47(7) ประมวลรัษฎากร ) ซึ่งโดยปกติจะเป็นเงินที่บริจาคให้แก่องค์กรการกุศลสาธารณะต่างๆ อันรวมถึงองค์กรการกุศลสาธารณะในพระบรมราชูปถัมภ์ต่างๆ ด้วย
รายชื่อองค์กร
มูลนิธิราชประชานุเคราะห์ (ลำดับที่ 43)
มูลนิธิสายใจไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ (ลำดับที่ 49)
มูลนิธิประทานพรเยาวชนในพระบรมราชูปถัมภ์ (ลำดับที่ 54)
มูลนิธิคุ้มเกล้าฯ ในพระบรมราชูปถัมภ์ (ลำดับที่ 57)
มูลนิธิอานันทมหิดล (ลำดับที่ 60)
มูลนิธิพระบรมราชานุสรณ์ พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ในพระบรมราชูปถัมภ์ (ลำดับที่ 74)
มูลนิธิกตเวทินในพระบรมราชูปถัมภ์ (ลำดับที่ 82)
มูลนิธิมหามกุฏราชวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์ (ลำดับที่ 84)
สมาคมสภาสังคมสงเคราะห์แห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ (ลำดับที่ 89)
มูลนิธิแม่ฟ้าหลวง ในพระบรมราชูปถัมภ์ (ลำดับที่ 92)
มูลนิธิวิจัยประสาท ในพระบรมราชูปถัมภ์ (ลำดับที่ 98)
มูลนิธิสงเคราะห์เยาวชนในท้องที่กันดาร ในพระบรมราชูปถัมภ์ (ลำดับที่ 101)
มูลนิธิพระบรมราชานุสรณ์พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์ (ลำดับที่ 116)
ยุวพุทธิกสมาคมแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ (ลำดับที่ 117)
สยามสมาคมในพระบรมราชูปถัมภ์ (ลำดับที่ 136)
มูลนิธิชัยพัฒนา (ลำดับที่ 169)
มูลนิธิธรรมมิกชนเพื่อคนตาบอดในประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ (ลำดับที่ 174)
มูลนิธิพระราชทานสงเคราะห์ผู้ป่วยอนาถา ในพระบรมราชูปถัมภ์ (ลำดับที่ 181)
มูลนิธิพระดาบส (ลำดับที่ 196)
มูลนิธิอนุรักษ์และพัฒนาอากาศยานไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวพระภูมิพลมหาราชฯ (ลำดับที่ 224)
มูลนิธิโครงการหลวง (ลำดับที่ 226)
มูลนิธิช่วยครูอาวุโสในพระบรมราชูปถัมภ์ (ลำดับที่ 259)
มูลนิธิตึก สก.โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ (ลำดับที่ 296)
มูลนิธิตงฮั้วการแพทย์ในพระบรมราชูปถัมภ์ (ลำดับที่ 320)
สมาคมมวยสากลสมัครเล่นแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ (ลำดับที่ 470)
มูลนิธิส่งเสริมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีในพระบรมราชูปถัมภ์ (ลำดับที่ 481)
มูลนิธิอัฏฐมราชานุสรณ์ในพระบรมราชูปถัมภ์ (ลำดับที่ 483)
สมาคมสุขภาพจิตแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ (ลำดับที่ 484)
สมาคมแพทย์สตรีแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ (ลำดับที่ 498)
สมาคมนักวิทยุและโทรทัศน์แห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ (ลำดับที่ 515)
สมาคมแพทย์ทหารแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ (ลำดับที่ 525)
มูลนิธิสันนิบาตนิธิแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ (ลำดับที่ 539)
มูลนิธิข้าวไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ (ลำดับที่ 542)
สมาคมช่างภาพผู้สื่อข่าวโทรทัศน์แห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ (ลำดับที่ 549)
สมาคมวิทยุสมัครเล่นแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ (ลำดับที่ 555)
สมาคมรัฐศาสตร์แห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ (ลำดับที่ 561)
มูลนิธิพัฒนาเกษตร-อนามัย ในพระบรมราชูปถัมภ์ (ลำดับที่ 566)
สมาคมวิทยาลัยศัลยแพทย์นานาชาติแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ (ลำดับที่ 579)
มูลนิธิอาสาอนามัยชนบท ในพระบรมราชูปถัมภ์ (ลำดับที่ 582)
มูลนิธิลูกเสือชาวบ้านแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ (ลำดับที่ 584)
มูลนิธิรางวัลสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนี ในพระบรมราชูปถัมภ์ (ลำดับที่ 652)
สมาคมศัลยแพทย์ระบบปัสสาวะ (ประเทศไทย) ในพระบรมราชูปถัมภ์ (ลำดับที่ 669)
มูลนิธิทันตนวัตกรรม ในพระบรมราชูปถัมภ์ (ลำดับที่ 713)
สมาคมนักเรียนเก่าวชิราวุธวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์ (ลำดับที่ 723)
มูลนิธิอุทกพัฒน์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ (ลำดับที่ 794)
มูลนิธิศูนย์รักษ์สุนัขหัวหิน ในพระบรมราชูปถัมภ์ (ลำดับที่ 797)
มูลนิธิพุทธสมุนไพร คู่แผ่นดินไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ (ลำดับที่ 814)
มูลนิธิส่งเสริมสุขภาพ ในพระบรมราชูปถัมภ์ (ลำดับที่ 828)
มูลนิธิเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ในพระบรมราชูปถัมภ์ (ลำดับที่ 854)
สมาคมนักเรียนเก่า ภ.ป.ร. ราชวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์ (ลำดับที่ 906)
หลักฐานยืนยันการใช้สิทธิ์
เพื่อประโยชน์สำหรับการใช้สิทธิ์ลดหย่อนภาษี ทุกครั้งที่ได้บริจาคให้องค์กรการกุศลสาธารณะในพระบรมราชูปถัมภ์
กรุณาเก็บใบอนุโมทนาบุญหรือใบเสร็จรับเงินที่ได้รับจากองค์กรการกุศลสาธารณะในพระบรมราชูปถัมภ์ และระบุชื่อคุณเป็นผู้บริจาคเพื่อใช้เป็นหลักฐานสำหรับยืนยันการใช้สิทธิลดหย่อนภาษีต่อไป
สรุป
สุดท้ายนี้ ในฐานะประชาชนคนไทยที่ต้องการสร้างประโยชน์ให้กับสังคมไทย การบริจาคเงินส่วนที่เหลือใช้เพื่อช่วยเหลือสังคมจึงเป็นอีกทางเลือกสำหรับผู้ที่ต้องการทำบุญอุทิศถวายเป็นพระราชกุศล และเพื่อสืบสานพระราชปณิธานตามรอยเบื้องพระยุคลบาทของพระองค์ต่อไป
RELATED POSTS
ถูกหวยต้องเสียภาษีรึเปล่า? เมื่อผลประกาศมาว่าเราถูกรางวัล! ไม่ว่าจะเป็นรางวัลที่ 1 หรือแม้แต่รางวัลเลขท้ายสองตัว เราจะมีสิทธินำสลากฯ ไปขึ้นรางวัล ซึ่งนั่นย่อมหมายความว่าเรารวยขึ้น และเป็นจุดเริ่มต้นของคำถามว่า เงินรางวัลที่ได้รับนั้นเป็นรายได้ที่ต้องเสียภาษีรึเปล่า?
4 ปัญหาสุดฮิตในฤดูภาษี แม้มนุษย์เงินเดือนและผู้มีรายได้หลายคนจะคุ้นเคยกับการที่จะต้อง ยื่นภาษีเงินได้ประจำปี ช่วง วันที่ 1 มกราคม - 31 มีนาคม ของทุกปี อยู่แล้ว แต่เราเชื่อว่าไม่ว่าคุณจะยื่นภาษีครั้งแรก หรือยื่่นภาษีมาแล้วหลายครั้ง ก็มักจะเจอปัญหาเหล่านี้อยู่บ่อยๆ และทีมงาน iTAX ได้ทำการรวบรวมปัญหาสุดฮิตที่พบบ่อยในช่วงยื่นภาษีมาให้แล้ว จะมีอะไรบ้าง ไปดูกัน 1. ภาษากฎหมาย ยาวไปไม่อ่าน เปลี่ยนแปลงบ่อยยิ่งกว่าอากาศ? "ภาษีเงินได้ที่ได้รับการยกเว้นจากการซื้ออสังหาริมทรัพย์" คืออะไร? จะเรียกง่ายๆ ว่า "สิทธิประโยชน์จากโครงการบ้านหลังแรก" ไม่ได้เหรอ? แล้วทุกวันนี้กฎหมายภาษีเปลี่ยนแปลงบ่อยมว๊ากก อยู่ดีๆ ภาษีข้อนี้ลดหย่อนข้อนั้นก็ผุดมา? ซึ่ง iTAX จะทำหน้าที่คอย Update กฎหมายแล้วจัดการแปลเป็นภาษาคนให้คุณทันที 2. ต้องกรอกแบบฟอร์มอะไรบ้าง? ต้นปีจะยื่น ภ.ง.ด. 90 หรือ 91? กลางปีต้องยื่น ภ.ง.ด. 94 ด้วยรึเปล่า? จะยื่นฟอร์มเสริมอะไรไปกับ ภ.ง.ด.บ้าง? ข้อมูลซ้ำๆ กัน อย่างเอาเลขนี้มารวมกับเลขนี้กรอกลงฟอร์มนี้ แล้วลบเลขนี้ค่อยมากรอกลงอีกฟอร์มนึง หรือแค่พิมพ์ชื่อใส่ไปทุกฟอร์มก็เมื่อยมือแล้ว ช่วยถามทีเดียวและกรอกลงมันทุกฟอร์มเลยได้มั๊ย? ได้สิ iTAX ทำให้หมดทุกอย่าง 3. ใช้สิทธิลดหย่อนเรื่องนี้ได้ป่าว จะโดนปรับทีหลังมั๊ย? ก็ไม่ได้อยากใช้สิทธิเกินจนต้องมาโดนปรับย้อนหลังหรอก แต่จะไปค้นจากไหนว่าลดหย่อนแต่ละรายการมีเงื่อนไขอะไรบ้าง? เอาแค่ ลดหย่อนเลี้ยงดูพ่อแม่ ก็มีเงื่อนไขตั้ง 3-4 ข้อแล้ว ต้องมานั่งค้นทุกรายการกันเลยไหมว่าเราเข้าข่ายลดหย่อนอะไรบ้างรึเปล่า? คงจะดีถ้ามีใครมาสรุปแล้วเช็คให้เลยว่าถูกเงื่อนไขทุกข้อไม่เกินและใช้สิทธิได้ครบจริงๆ ไม่ตกหล่น? ... แล้ว iTAX ก็จัดการให้คุณง่าย... ได้อีก 4. มีทางได้เงินคืนมากกว่านี้มั๊ย? คนนี้บอกรวยได้ภาษีไม่ยาก คนนั้นได้เงินคืนเยอะแยะ บางคนถึงขั้นลงทุนจ้างนักวางแผนภาษีส่วนตัว แต่เราไม่รู้จะไปหาที่ไหนเริ่มต้นยังไง? ลองใช้ iTAX ดู คุณจะได้แผนภาษีพร้อมแผนการเงินที่เหมาะกับสุขภาพการเงินและเป้าหมายทางการเงินของคุณ เหมือนมีที่ปรึกษามืออาชีพคอยบริการส่วนตัวให้ฟรีๆ ไม่ว่าในอดีตภาษีจะเป็นเรื่องที่ทำให้คุณปวดหัวมากแค่ไหน เราอยากให้คุณลืมความยุ่งยากน่าปวดหัวเหล่านั้นไปซะ เพราะ iTAX คือโปรแกรมที่จะช่วยให้คุณจัดการคำนวณภาษี วางแผนภาษี และหาตัวช่วยลดหย่อนภาษีได้ง่ายๆ แบบคนไม่รู้ภาษีก็ทำได้ อยากรู้ว่าเราพูดเรื่องจริงมั้ย? คลิกเลย www.itax.in.th
รู้ยัง? เงินเดือนเท่าไหร่ ถึงไม่ต้องเสียภาษี รู้ไว้ไม่เสียหาย โครงสร้างภาษีปี 2561 มีผลกับ ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา โดยเฉพาะหน้าที่ของผู้มีรายได้จากงานประจำ (เงินได้ประเภทที่ 1) ในการ "ยื่นภาษี" และ "เสียภาษี" ยังไงบ้าง ทำไมรายได้เท่านี้ถึงไม่ต้องเสียภาษีเราไปดูกัน
เงินคืนภาษี กับเรื่องต้องระวัง! สิ่งหนึ่งที่รัฐใช้จูงใจให้ผู้มีรายได้หันมายื่นภาษีกันมากขึ้นก็คือ “เงินคืนภาษี” แต่แม้ว่า การได้รับเงินคืนภาษีจะทำให้หลายคนพอใจ แต่การที่คุณจะได้รับเงินคืนภาษีนั้น ก็มีเรื่องต้องระวังอยู่เช่นกัน
โครงสร้างภาษีปี 2560 มีอะไรใหม่บ้าง? ในที่สุดประเทศไทยก็มีการเปลี่ยนแปลงโครงสร้าง ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา สำหรับ ปีภาษี 2560 อย่างเป็นทางการเสียที หลังจากใช้โครงสร้างภาษีเดิมมาตั้งแต่ปีภาษี 2535 หรือกว่า 25 ปีที่แล้ว จึงเป็นการเปลี่ยนแปลงครั้งใหญ่ครั้งนึงของประเทศไทยก็ว่าได้ เพื่อให้ผู้เสียภาษีอย่างเราสามารถเตรียมตัวรับความเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นในปีภาษี 2560 นี้
วันเกิดกับภาษี วันเกิดเป็นปัจจัยสำคัญเกี่ยวกับการคำนวณภาษีและสิทธิประโยชน์ต่างๆ ที่อาจคาดไม่ถึง เพราะภาษีบางรายการมีความเกี่ยวข้องกับเกณฑ์อายุด้วย ดังนั้น วันเกิดของคุณจึงอาจส่งผลให้คุณได้สิทธิ์หรือเสียสิทธิ์ทางภาษีได้ในเวลาเดียวกัน
RELATED POSTS
ถูกหวยต้องเสียภาษีรึเปล่า? เมื่อผลประกาศมาว่าเราถูกรางวัล! ไม่ว่าจะเป็นรางวัลที่ 1 หรือแม้แต่รางวัลเลขท้ายสองตัว เราจะมีสิทธินำสลากฯ ไปขึ้นรางวัล ซึ่งนั่นย่อมหมายความว่าเรารวยขึ้น และเป็นจุดเริ่มต้นของคำถามว่า เงินรางวัลที่ได้รับนั้นเป็นรายได้ที่ต้องเสียภาษีรึเปล่า?
4 ปัญหาสุดฮิตในฤดูภาษี แม้มนุษย์เงินเดือนและผู้มีรายได้หลายคนจะคุ้นเคยกับการที่จะต้อง ยื่นภาษีเงินได้ประจำปี ช่วง วันที่ 1 มกราคม - 31 มีนาคม ของทุกปี อยู่แล้ว แต่เราเชื่อว่าไม่ว่าคุณจะยื่นภาษีครั้งแรก หรือยื่่นภาษีมาแล้วหลายครั้ง ก็มักจะเจอปัญหาเหล่านี้อยู่บ่อยๆ และทีมงาน iTAX ได้ทำการรวบรวมปัญหาสุดฮิตที่พบบ่อยในช่วงยื่นภาษีมาให้แล้ว จะมีอะไรบ้าง ไปดูกัน 1. ภาษากฎหมาย ยาวไปไม่อ่าน เปลี่ยนแปลงบ่อยยิ่งกว่าอากาศ? "ภาษีเงินได้ที่ได้รับการยกเว้นจากการซื้ออสังหาริมทรัพย์" คืออะไร? จะเรียกง่ายๆ ว่า "สิทธิประโยชน์จากโครงการบ้านหลังแรก" ไม่ได้เหรอ? แล้วทุกวันนี้กฎหมายภาษีเปลี่ยนแปลงบ่อยมว๊ากก อยู่ดีๆ ภาษีข้อนี้ลดหย่อนข้อนั้นก็ผุดมา? ซึ่ง iTAX จะทำหน้าที่คอย Update กฎหมายแล้วจัดการแปลเป็นภาษาคนให้คุณทันที 2. ต้องกรอกแบบฟอร์มอะไรบ้าง? ต้นปีจะยื่น ภ.ง.ด. 90 หรือ 91? กลางปีต้องยื่น ภ.ง.ด. 94 ด้วยรึเปล่า? จะยื่นฟอร์มเสริมอะไรไปกับ ภ.ง.ด.บ้าง? ข้อมูลซ้ำๆ กัน อย่างเอาเลขนี้มารวมกับเลขนี้กรอกลงฟอร์มนี้ แล้วลบเลขนี้ค่อยมากรอกลงอีกฟอร์มนึง หรือแค่พิมพ์ชื่อใส่ไปทุกฟอร์มก็เมื่อยมือแล้ว ช่วยถามทีเดียวและกรอกลงมันทุกฟอร์มเลยได้มั๊ย? ได้สิ iTAX ทำให้หมดทุกอย่าง 3. ใช้สิทธิลดหย่อนเรื่องนี้ได้ป่าว จะโดนปรับทีหลังมั๊ย? ก็ไม่ได้อยากใช้สิทธิเกินจนต้องมาโดนปรับย้อนหลังหรอก แต่จะไปค้นจากไหนว่าลดหย่อนแต่ละรายการมีเงื่อนไขอะไรบ้าง? เอาแค่ ลดหย่อนเลี้ยงดูพ่อแม่ ก็มีเงื่อนไขตั้ง 3-4 ข้อแล้ว ต้องมานั่งค้นทุกรายการกันเลยไหมว่าเราเข้าข่ายลดหย่อนอะไรบ้างรึเปล่า? คงจะดีถ้ามีใครมาสรุปแล้วเช็คให้เลยว่าถูกเงื่อนไขทุกข้อไม่เกินและใช้สิทธิได้ครบจริงๆ ไม่ตกหล่น? ... แล้ว iTAX ก็จัดการให้คุณง่าย... ได้อีก 4. มีทางได้เงินคืนมากกว่านี้มั๊ย? คนนี้บอกรวยได้ภาษีไม่ยาก คนนั้นได้เงินคืนเยอะแยะ บางคนถึงขั้นลงทุนจ้างนักวางแผนภาษีส่วนตัว แต่เราไม่รู้จะไปหาที่ไหนเริ่มต้นยังไง? ลองใช้ iTAX ดู คุณจะได้แผนภาษีพร้อมแผนการเงินที่เหมาะกับสุขภาพการเงินและเป้าหมายทางการเงินของคุณ เหมือนมีที่ปรึกษามืออาชีพคอยบริการส่วนตัวให้ฟรีๆ ไม่ว่าในอดีตภาษีจะเป็นเรื่องที่ทำให้คุณปวดหัวมากแค่ไหน เราอยากให้คุณลืมความยุ่งยากน่าปวดหัวเหล่านั้นไปซะ เพราะ iTAX คือโปรแกรมที่จะช่วยให้คุณจัดการคำนวณภาษี วางแผนภาษี และหาตัวช่วยลดหย่อนภาษีได้ง่ายๆ แบบคนไม่รู้ภาษีก็ทำได้ อยากรู้ว่าเราพูดเรื่องจริงมั้ย? คลิกเลย www.itax.in.th
รู้ยัง? เงินเดือนเท่าไหร่ ถึงไม่ต้องเสียภาษี รู้ไว้ไม่เสียหาย โครงสร้างภาษีปี 2561 มีผลกับ ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา โดยเฉพาะหน้าที่ของผู้มีรายได้จากงานประจำ (เงินได้ประเภทที่ 1) ในการ "ยื่นภาษี" และ "เสียภาษี" ยังไงบ้าง ทำไมรายได้เท่านี้ถึงไม่ต้องเสียภาษีเราไปดูกัน
เงินคืนภาษี กับเรื่องต้องระวัง! สิ่งหนึ่งที่รัฐใช้จูงใจให้ผู้มีรายได้หันมายื่นภาษีกันมากขึ้นก็คือ “เงินคืนภาษี” แต่แม้ว่า การได้รับเงินคืนภาษีจะทำให้หลายคนพอใจ แต่การที่คุณจะได้รับเงินคืนภาษีนั้น ก็มีเรื่องต้องระวังอยู่เช่นกัน
โครงสร้างภาษีปี 2560 มีอะไรใหม่บ้าง? ในที่สุดประเทศไทยก็มีการเปลี่ยนแปลงโครงสร้าง ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา สำหรับ ปีภาษี 2560 อย่างเป็นทางการเสียที หลังจากใช้โครงสร้างภาษีเดิมมาตั้งแต่ปีภาษี 2535 หรือกว่า 25 ปีที่แล้ว จึงเป็นการเปลี่ยนแปลงครั้งใหญ่ครั้งนึงของประเทศไทยก็ว่าได้ เพื่อให้ผู้เสียภาษีอย่างเราสามารถเตรียมตัวรับความเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นในปีภาษี 2560 นี้
วันเกิดกับภาษี วันเกิดเป็นปัจจัยสำคัญเกี่ยวกับการคำนวณภาษีและสิทธิประโยชน์ต่างๆ ที่อาจคาดไม่ถึง เพราะภาษีบางรายการมีความเกี่ยวข้องกับเกณฑ์อายุด้วย ดังนั้น วันเกิดของคุณจึงอาจส่งผลให้คุณได้สิทธิ์หรือเสียสิทธิ์ทางภาษีได้ในเวลาเดียวกัน