รายชื่อ ส.ส.บัญชีรายชื่อ พรรคไทยสร้างไทย – เลือกตั้ง 2566

ทั่วไป

รายชื่อ ส.ส.บัญชีรายชื่อ (ปาร์ตี้ลิสต์) “พรรคไทยสร้างไทย” เลือกตั้ง 2566 ทั้ง 97 คน โดย พรรคไทยสร้างไทย ได้เบอร์ 32 และส่งผู้สมัคร ส.ส.บัญชีรายชื่อ 97 คน โดยมีลำดับรายชื่อผู้สมัคร ดังต่อไปนี้

รายชื่อ ส.ส.บัญชีรายชื่อ (ปาร์ตี้ลิสต์) พรรคไทยสร้างไทย

  1. คุณหญิงสุดารัตน์ เกยุราพันธุ์ 
  2. นายฐากร ตัณฑสิทธิ์
  3. นาวาอากาศเอกอนุดิษฐ์ นาครทรรพ
  4. นายสุพันธุ์ มงคลสุธี
  5. นาวาอากาศตรีศิธา ทิวารี
  6. นายอุดมเดช รัตนเสถียร
  7. นายประวัฒน์ อุตตะโมช
  8. นายต่อพงษ์ ไชยสาส์น
  9. พันตำรวจโทกุลธน ประจวบเหมาะ
  10. นายประพนธ์ เนตรรังษี
  11. นายธนธัช ตัณฑสิทธิ์
  12. นางสาวนภัสษนันท์ ศุภโฆษธนานนท์
  13. นายไชยวัฒน์ หาญสมวงศ์
  14. นายนพดล มังกรชัย
  15. นายเทพฤทธิ์ สีน้ำเงิน
  16. นางสาวธิดารัตน์ ยิ่งเจริญ
  17. นายราม คุรุวาณิชย์
  18. นายจิรเดช วรเพียรกุล
  19. นายณรงค์ รุ่งธนวงศ์
  20. นายวิจักร อากัปกริยา
  21. นายฉลอง เทพวิทักษ์กิจ
  22. นางตัสนีม เจ๊ะตู
  23. นายพิทักษ์ สันติวงษ์สกุล
  24. พลตรีไพบูลย์ ควรชม
  25. นายศักดิ์ณรงค์ ศิริพร ณ ราชสีมา
  26. นายวิชัย สามิตร
  27. นายวิสันต์ เดชเสน
  28. นายธนาวุธ วิชัยดิษฐ
  29. นายสุจินต์ พิทักษ์
  30. นายรณกาจ ชินสำราญ
  31. นายเจตุบัญชา อำรุงจิตชัย
  32. นายศรัณยู คงสวัสดิ์เกียรติ
  33. นางภรภัทร โชติกะสุภา
  34. นายฉัตรพล ขวัญบัว
  35. นายพงษ์ศิลป์ สิมวิเศษ
  36. นางสาวนิมิต ตราชู
  37. นายนำชัย ภู่ไพบูลย์
  38. พลอากาศตรีณรงค์ชัย คงแก้ว
  39. นายณัฏฐประชา เกื้อสกุล
  40. นางภุมรา จันทรสุรินทร์
  41. นายอดิลัน อาลีอิสเฮาะ
  42. นายวิชัย หุตังคบดี
  43. นางสาวบุณฑริกา ประสงค์ดี
  44. นางสาวนัจภัค กรเกษม
  45. นายสมพร อิทธิภูวกุล
  46. พลอากาศเอกภาณุ อดทน
  47. พลอากาศตรีสุรพล นวะมวัฒน์
  48. นายไกวัลย์ โรจนานุกูล
  49. นายศุชัยวุธ ชาวสวนกล้วย
  50. นายปริเยศ อังกูรกิตติ
  51. นายสิรสินทร์ ชินทองรัตน์
  52. นายจำลอง สิงห์โตงาม
  53. นายภาคิน เจริญนนทสิทธิ์
  54. นายวิเชียรชนินทร์ สินธุไพร
  55. นางสาวปวริศา คุณาวรนนท์
  56. นายโกศล เหมพลชม
  57. นางสาวอิศยาภรณ์ วงศ์ษานุทัศน์
  58. นายทูลสวัสดิ์ ยอดมณีบรรพต
  59. นายสอิสร์ โบราณ
  60. นายวัลลภ ไชยไธสง
  61. นายสุระสิทธิ์ สุระพินิจ
  62. นางพัชรนันท์ นิธิยศจิระโชติ
  63. นายนรบดี บำรุงพืช
  64. นางสาวริกาญ์ ปุญฑริกา
  65. นางณัฏริกา ภัทรลีลา
  66. นายเสนอ อัศวมันตรา
  67. นายปราโมทย์ พรมพินิจ
  68. นายพิกุล บุญมาก
  69. นายวัชรพงศ์ อึงศรีสวัสดิ์
  70. นายเสถียร คงปาน
  71. นายกิตติศักดิ์ ชมจันทร์
  72. นางสาวอัจฉรา เหลืองสวัสดิ์
  73. นายธีระศักดิ์ วีระจินตวงศ์
  74. นายอธิคม อัศวตั้งเสถียร
  75. นายธีรภาพ ทิบุญมี
  76. นางสาวรังสิมา ทองพันชั่ง
  77. นายภาณุน์พล จงชัยธนโรจน์
  78. นายวัฒนพงษ์ จิตตรี
  79. นายพงษ์ฐกร ไพริน
  80. นายมนูญ สรรพวรพงษ์
  81. นายณธัช อัศดามงคล
  82. นายณัฏฐ์ อิศรางกูร ณ อยุธยา
  83. นายธรรศ มีคุณ
  84. นายกิตติธัช นาสวน
  85. นางวรนุช ศิริพัฒนานันท์
  86. นายธีร์วริศ ธรรมนารักษ์
  87. นายวชิร ทองสุข
  88. นายจตุรภัทร ดีรัตน์
  89. นางสาวมีนา หมะเห
  90. นายเกรียงไกร สมิตสันต์
  91. นายธวัชชัย ดนตรี
  92. นายเชย ผลิผล
  93. นางอรพิน เทียนเสม
  94. นายธนดล จำรักษา
  95. นายสุกรี มะดากะกุล
  96. นายสิทธิ โสพสิงห์
  97. นายพงษ์ประเสริฐ ฉัตรไชยไพบูลย์

เบอร์เลือกตั้ง ส.ส.บัญชีรายชื่อ “ปาร์ตี้ลิสต์” เลือกตั้ง 2566 

การเลือกตั้ง 2566 มีพรรคการเมืองมาลงทะเบียนรวม 67 พรรคการเมือง ดังนี้

เบอร์เลือกตั้ง พรรค
เบอร์ 1

  พรรคใหม่

เบอร์ 2

  พรรคประชาธิปไตยใหม่

เบอร์ 3

  พรรคเป็นธรรม

เบอร์ 4

  พรรคท้องที่ไทย

เบอร์ 5

  พรรคพลังสังคมใหม่

เบอร์ 6

  พรรคครูไทยเพื่อประชาชน

เบอร์ 7

  พรรคภูมิใจไทย

เบอร์ 8

  พรรคแรงงานสร้างชาติ

เบอร์ 9

  พรรคพลัง

เบอร์ 10

  พรรคอนาคตไทย

เบอร์ 11

  พรรคประชาชาติ

เบอร์ 12

  พรรคไทยรวมไทย

เบอร์ 13

  พรรคไทยชนะ

เบอร์ 14

พรรคชาติพัฒนากล้า

เบอร์ 15

  พรรคกรีน

เบอร์ 16

  พรรคพลังสยาม

เบอร์ 17

  พรรคเสมอภาค

เบอร์ 18

  พรรคชาติไทยพัฒนา

เบอร์ 19

  พรรคภาคีเครือข่ายไทย

เบอร์ 20

  พรรคเปลี่ยน

เบอร์ 21

  พรรคไทยภักดี

เบอร์ 22

  พรรครวมไทยสร้างชาติ

เบอร์ 23

  พรรครวมใจไทย

เบอร์ 24

  พรรคเพื่อชาติ

เบอร์ 25

  พรรคเสรีรวมไทย

เบอร์ 26

  พรรคประชาธิปัตย์

เบอร์ 27

  พรรคพลังธรรมใหม่

เบอร์ 28

  พรรคไทยพร้อม

เบอร์ 29

  พรรคเพื่อไทย

เบอร์ 30

  พรรคทางเลือกใหม่

เบอร์ 31

  พรรคก้าวไกล

เบอร์ 32

  พรรคไทยสร้างไทย

เบอร์ 33

  พรรคไทยเป็นหนึ่ง

เบอร์ 34

  พรรคแผ่นดินธรรม

เบอร์ 35

  พรรครวมพลัง

เบอร์ 36

  พรรคเพื่อชาติไทย

เบอร์ 37

  พรรคพลังประชารัฐ

เบอร์ 38

  พรรคเพื่อไทรวมพลัง

เบอร์ 39

  พรรคมิติใหม่

เบอร์ 40

  พรรคประชาภิวัฒน์

เบอร์ 41

  พรรคไทยธรรม

เบอร์ 42

  พรรคไทยศรีวิไลย์

เบอร์ 43

  พรรคพลังสหกรณ์

เบอร์ 44

  พรรคราษฎร์วิถี

เบอร์ 45

  พรรคแนวทางใหม่

เบอร์ 46

  พรรคถิ่นกาขาวชาววิไล

เบอร์ 47

  พรรครวมแผ่นดิน

เบอร์ 48

  พรรคเพื่ออนาคตไทย

เบอร์ 49

  พรรครักษ์ผืนป่าประเทศไทย

เบอร์ 50

พรรคพลังปวงชนไทย

เบอร์ 51

พรรคสามัญชน

เบอร์ 52

พรรคชาติรุ่งเรือง

เบอร์ 53

พรรคพลังสังคม

เบอร์ 54

พรรคภราดรภาพ

เบอร์ 55

พรรคไทยก้าวหน้า

เบอร์ 56

พรรคประชาไทย

เบอร์ 57

พรรคพลังเพื่อไทย

เบอร์ 58

พรรคสังคมประชาธิปไตยไทย

เบอร์ 59

พรรคช่วยชาติ

เบอร์ 60

พรรคความหวังใหม่

เบอร์ 61

พรรคคลองไทย

เบอร์ 62

พรรคพลังไทยรักชาติ

เบอร์ 63

พรรคประชากรไทย

เบอร์ 64

พรรคเส้นด้าย

เบอร์ 65

พรรคเปลี่ยนอนาคต

เบอร์ 66

พรรคพลังประชาธิปไตย

เบอร์ 67

พรรคไทยสมาร์ท

ขั้นตอน เช็กสิทธิเลือกตั้ง 2566 ผ่านช่องทางออนไลน์ เว็บไซต์ กรมการปกครอง

  1. ไปที่เว็บไซต์ ตรวจสอบรายละเอียดผู้มีสิทธิเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร (ส.ส.) โดย กรมการปกครอง https://boraservices.bora.dopa.go.th/election/enqelection/
  2. กรอกเลขประจำตัวประชาชน 13 หลัก แล้วกดปุ่ม “ตรวจสอบ”
  3. ที่หน้าระบบข้อมูลผู้มีสิทธิเลือกตั้ง จะแสดงผลรายละเอียดผู้มีสิทธิเลือกตั้ง ได้แก่
    • ชื่อ จังหวัด และเขตที่มีสิทธิ
    • กรณีลงทะเบียนเลือกตั้งล่วงหน้า จะแสดงข้อมูลการขอไปใช้สิทธิล่วงหน้านอกเขตเลือกตั้ง ได้แก่ วันที่เลือกตั้งล่วงหน้า จังหวัดที่ไปใช้สิทธิ สถานที่ที่จะไปใช้สิทธิ และลำดับในบัญชี

วันเลือกตั้ง 2566

  • วันอาทิตย์ที่ 14 พฤษภาคม 2566

ตรวจสอบสิทธิเลือกตั้ง 2566 ผ่านช่องทางออนไลน์ BORA PORTAL กรมการปกครอง

  1. ไปที่เว็บไซต์ BORA PORTAL กรมการปกครอง https://thportal.bora.dopa.go.th
  2. กดปุ่ม “LOGIN ด้วย ThaID” (กรณียังไม่เคยสมัครใช้บริการ ThaID บัตรประชาชนดิจิทัลของกรมการปกครอง สามารถดูขั้นตอนการสมัครท้ายบทความนี้)
  3. แสกน QR Code ด้วยแอป ThaID หรือ กดปุ่ม “เข้าสู่ระบบด้วย ThaID”
  4. เมื่อเข้าสู่ระบบแล้ว ให้เลือกเมนู “ระบบเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร (ส.ส.)”
  5. เลือก “ตรวจสอบสิทธิเลือกตั้ง”
  6. ที่หน้าระบบข้อมูลผู้มีสิทธิเลือกตั้ง จะแสดงผลรายละเอียดผู้มีสิทธิเลือกตั้ง ได้แก่
    • ชื่อ จังหวัด และเขตที่มีสิทธิ
    • กรณีลงทะเบียนเลือกตั้งล่วงหน้า จะแสดงข้อมูลการขอไปใช้สิทธิล่วงหน้านอกเขตเลือกตั้ง ได้แก่ วันที่เลือกตั้งล่วงหน้า จังหวัดที่ไปใช้สิทธิ สถานที่ที่จะไปใช้สิทธิ และลำดับในบัญชี

ลงทะเบียนเปิดใช้บริการ ThaID บัตรประชาชนดิจิทัล กรมการปกครอง

การลงทะเบียนเลือกตั้งนอกเขตผ่าน BORA PORTAL จำเป็นต้องสมัครใช้ ThaID ก่อนลงทะเบียนด้วย ซึ่งเป็นระบบ Digital ID ของกรมการปกครอง เพื่อสร้างระบบการพิสูจน์และยืนยันตัวตนทางดิจิทัลของประเทศรองรับการใช้งานบริการภาครัฐ โดยประชาชนทั่วไปสามารถลงทะเบียนเปิดใช้ ThaID บัตรประชาชนดิจิทัลได้ฟรีที่บ้านโดยไม่ต้องไปแจ้งเขต-อำเภอก็ได้

ขั้นตอนการ ลงทะเบียนบัตรประชาชนดิจิทัล ด้วยตนเอง (พิสูจน์และยืนยันตัวผ่านแอป ThaID)

  1. โหลดแอป ThaID
  2. เลือกหัวข้อลงทะเบียนด้วยตนเอง
  3. ยอมรับข้อตกลงและเงื่อนไขการใช้บริการเพื่อทำการลงทะเบียนสิ่งแทนเอกลักษณ์ดิจิทัล
  4. ถ่ายรูปหน้าบัตรประจำตัวประชาชน เมื่อเสร็จแล้วให้ตรวจสอบความชัดเจนและกดปุ่มยืนยันหรือถ่ายใหม่
  5. ถ่ายรูปหลังบัตรประจำตัวประชาชน เมื่อเสร็จแล้วให้ตรวจสอบความชัดเจนและกดปุ่มยืนยันหรือถ่ายใหม่
  6. ตรวจสอบข้อมูลบัตรประจำตัวประชาชน หากถูกต้องให้กดยืนยัน
  7. ถ่ายรูปภาพใบหน้าตนเอง
  8. ตั้งค่ารหัสผ่านเหมือนกัน 2 ครั้งโดยต้องไม่เรียงกัน และไม่ซ้ำกันเกิน 4 ตัว เช่น 1234, 1111
  9. ระบบแจ้งเตือนขอความยินยอมโดยระบุรหัสผ่านอีกครั้งเพื่อเข้าใช้งานแอปพลิเคชันครั้งแรก
  10. เมื่อลงทะเบียนเสร็จสิ้น หน้าจอจะแสดงรูปบัตรประจำตัวประชาชน

ขั้นตอนการ ลงทะเบียนบัตรประชาชนดิจิทัล ผ่านเจ้าหน้าที่

  1. โหลดแอป ThaID
  2. เลือกหัวข้อลงทะเบียนผ่านเจ้าหน้าที่
  3. นำบัตรประจำตัวประชาชนใบล่าสุด เพื่อให้เจ้าหน้าที่ผู้รับลงทะเบียนทำการตรวจสอบข้อมูลก่อนการลงทะเบียน ณ สำนักทะเบียน
  4. เปิดแอปพลิเคชัน ThaID พร้อมทั้งอนุญาตให้ใช้อุปกรณ์ของเครื่องโทรศัพท์มือถือ
  5. ยอมรับข้อตกลงและเงื่อนไขการใช้บริการเพื่อทำการลงทะเบียนสิ่งแทนเอกลักษณ์ดิจิทัล
  6. ระบุเลขประจำตัวประชาชน 13 หลัก ให้ถูกต้อง
  7. แสกนลายพิมพ์นิ้วชี้กับเจ้าหน้าที่
  8. แสกน QR code บนหน้าจอของเจ้าหน้าที่ ด้วยแอพพลิเคชั่น ThaID
  9. ตั้งค่ารหัสผ่านเหมือนกัน 2 ครั้งโดยต้องไม่เรียงกัน และไม่ซ้ำกันเกิน 4 ตัว เช่น 1234, 1111
  10. ระบบแจ้งเตือนขอความยินยอมโดยระบุรหัสผ่านอีกครั้งเพื่อเข้าใช้งานแอปพลิเคชันครั้งแรก
  11. เมื่อลงทะเบียนเสร็จสิ้น หน้าจอจะแสดงรูปบัตรประจำตัวประชาชน

หมายเหตุ: กรณีลืมรหัสผ่าน สามารถรีเซ็ตรหัสผ่านได้ โดยการถ่ายรูปภาพใบหน้าตนเองเพื่อขอสร้างรหัสผ่านใหม่

เรื่องที่น่าสนใจเกี่ยวกับการกำหนดเขตเลือกตั้ง 2566

  • จำนวนราษฎรสัญชาติไทยทั่วราชอาณาจักร 65,106,481 คน เมื่อวันที่ 31 ธันวาคม 2565
  • กกต. ได้กำหนดเขตเลือกตั้งโดยใช้ฐานเฉลี่ยจำนวนราษฎร 162,766 คน ต่อ สส. แบบแบ่งเขตหนึ่งคน
  • เขตเลือกตั้ง 400 เขต สามารถแบ่งจำนวนตามภาคได้ดังนี้
    • ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 20 จังหวัด มี 133 เขตเลือกตั้ง (สส. แบบแบ่งเขต 133 คน)
    • ภาคกลาง 22 จังหวัด (รวมกรุงเทพมหานคร) มี 122 เขตเลือกตั้ง (สส. แบบแบ่งเขต 122 คน)
    • ภาคใต้ 14 จังหวัด มี 60 เขตเลือกตั้ง (สส. แบบแบ่งเขต 60 คน)
    • ภาคเหนือ 9 จังหวัด มี 37 เขตเลือกตั้ง (สส. แบบแบ่งเขต 37 คน)
    • ภาคตะวันออก 7 จังหวัด มี 29 เขตเลือกตั้ง (สส. แบบแบ่งเขต 29 คน)
    • ภาคตะวันตก 5 จังหวัด มี 19 เขตเลือกตั้ง (สส. แบบแบ่งเขต 19 คน)
  • กรุงเทพมหานครมีราษฎร 5,394,910 คน จึงได้รับการจัดสรรเขตเลือกมากที่สุด คือ 33 เขตเลือกตั้ง ทำให้มี สส. แบบแบ่งเขตได้ถึง 33 คนในจังหวัดเดียว
  • ตราด ระนอง สมุทรสาคร และสิงห์บุรี เป็น 4 จังหวัดที่มีเขตเลือกเพียงจังหวัดละ 1 เขต ทำให้ทั้ง 4 จังหวัดนี้มี สส. แบบแบ่งเขตได้จังหวัดละ 1 คน
  • จังหวัดที่มีราษฎรเกิน 1 ล้านคน มีจำนวน 21 จังหวัด
  • จังหวัดที่สามารถมี สส. แบบแบ่งเขตได้ 10 คนขึ้นไป มีจำนวน 9 จังหวัด ได้แก่
    1. กรุงเทพมหานคร ได้ 33 คน
    2. นครราชสีมา ได้ 16 คน
    3. ขอนแก่น ได้ 11 คน
    4. อุบลราชธานี ได้ 11 คน
    5. ชลบุรี ได้ 10 คน
    6. เชียงใหม่ ได้ 10 คน
    7. นครศรีธรรมราช ได้ 10 คน
    8. บุรีรัมย์ ได้ 10 คน
    9. อุดรธานี ได้ 10 คน
app icon
iTAX คำนวณและวางแผนภาษี
star star star star star
(100K+)