รายชื่อ ส.ส.บัญชีรายชื่อ (ปาร์ตี้ลิสต์) “พรรคเพื่อไทย” เลือกตั้ง 2566 ทั้ง 100 คน โดย พรรคเพื่อไทย ได้เบอร์ 29 และส่งผู้สมัคร ส.ส.บัญชีรายชื่อ 100 คน โดยมีลำดับรายชื่อผู้สมัคร ดังต่อไปนี้
- เขตเลือกตั้ง 2566 แยกตามจังหวัด ครบทั้ง 400 เขต (อัพเดตล่าสุด)
- วันหยุดราชการ 2566 ปฏิทินวันหยุดราชการ อัปเดตล่าสุด
รายชื่อ ส.ส.บัญชีรายชื่อ (ปาร์ตี้ลิสต์) พรรคเพื่อไทย
- พลตำรวจโท วิโรจน์ เปาอินทร์
- นายสมพงษ์ อมรวิวัฒน์
- นายประเสริฐ จันทรรวงทอง
- รองศาสตราจารย์ชูศักดิ์ ศิรินิล
- ร้อยตำรวจเอก ดร.เฉลิม อยู่บำรุง
- นายเกรียง กัลป์ตินันท์
- ดร.สุริยะ จึงรุ่งเรืองกิจ
- นายสุชาติ ตันเจริญ
- ดร.สุทิน คลังแสง
- ศาสตราจารย์พิเศษชัยเกษม นิติสิริ
- นายสมศักดิ์ เทพสุทิน
- นายวิสุทธิ์ ไชยณรุณ
- นายจาตุรนต์ ฉายแสง
- นายไพโรจน์ โล่ห์สุนทร
- นายนพดล ปัทมะ
- นายสงคราม กิจเลิศไพโรจน์
- นายประยุทธ์ ศิริพานิชย์
- รองศาสตราจารย์ ดร.อดิศร เพียงเกษ
- นายนิคม บุญวิเศษ
- นางสาวขัตติยา สวัสดิผล
- นางสาวสุดาวรรณ หวังศุภกิจโกศล
- นางประวีณ์นุช อินทปัญญา
- นายสุรเกียรติ เทียนทอง
- นายจิตติพจน์ วิริยะโรจน์
- นายดนุพร ปุณณกันต์
- ดร.อนุสรณ์ เอี่ยมสะอาด
- พลเอกพิศาล วัฒนวงษ์คีรี
- นายสุธรรม แสงประทุม
- ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ลิณธิภรณ์ วริณวัชรโรจน์
- ทพญ.ศรีญาดา ปาลิมาพันธ์
- นางสาวเพ็ญชิสา หงษ์อุปถัมภ์ชัย
- นางสาวละออง ติยะไพรัช
- นายณณัฏฐ์ หงษ์ชูเวช
- นายชนินทร์ รุ่งธนเกียรติ
- รองศาสตราจารย์ นพ.เชิดชัย ตันติศิรินทร์
- นายก่อแก้ว พิกุลทอง
- นายขจิตร ชัยนิคม
- นายเอกพร รักความสุข
- นายทนุศักดิ์ เล็กอุทัย
- นายธนพงศ์ ธนเดชากุล
- ดร.รุ่งเรือง พิทยศิริ
- นางวราภรณ์ ตั้งภากรณ์
- นายสุรสิทธิ์ นิธิวุฒิวรรักษ์
- นายสมชัย อัศวชัยโสภณ
- นายอุเมสนัส ปานเดย์
- ดร.เพชรวรรต วัฒนพงศ์ศิริกุล
- นายรัฐกิจ เฮงตระกูล
- นางสาวอุบลกาญจน์ อมรสิน
- ดร.ธงทอง นิพัทธรุจิ
- นายพชร ธรรมมล
- นายสมเกียรติ ตันติธนไพศาล
- นายอนุสรณ์ ไกรวัตตนุสรณ์
- พลตำรวจตรี รังสรรค์ คชไกร
- นางสาวณภัทรา กมลรักษา
- นายนิทัศน์ ศรีนนท์
- นายสุขุมพงศ์ โง่นคำ
- นายอภิยุทธ ณ กาฬสินธุ์
- นายบัณจงศักดิ์ วงศ์รัตนวรรณ
- นายพิสิษฏ์ พิพัฒน์วิไลกุล
- ดร.ศรีเมือง เจริญศิริ
- นายสิทธิชัย กิตติธเนศวร
- นายชานันท์ ยอดหงษ์
- นายนรวิชญ์ หล้าแหล่ง
- นพ.สุกิจ พรหมศิริ
- นายประสพ สารสมัคร
- นายชุมสาย ศรียาภัย
- นายประภัสร์ จงสงวน
- นายสรพันธ์ คุณากรวงศ์
- ศาสตราจารย์ ดร.สุชาติ ธาดาธำรงเวช
- นายสนธยา หลาวหล้าง
- นายสหัสชัย อนันตเมฆ
- นายวิสาร เตชะธีราวัฒน์
- นายสมนาม เหล่าเกียรติ
- นางสาวตรีชฎา ศรีธาดา
- นายธนวรรษ เพ็งดิษฐ์
- นางอนงค์ ล่อใจ
- นายวีระวัฒน์ โอสถานุเคราะห์
- นายสุรยุทธ์ ทวีกุลวัฒน์
- นายจักริน พัฒน์ดำรงจิตร
- นายวราวุธ ยันต์เจริญ
- นายกฤช เอื้อวงศ์
- นายสุรชัย เบ้าจรรยา
- นายภูวเดช นพฤทธิ์
- นายสุวรรณ น้ำใจดี
- นายวิสิษฐ์ เตชะธีราวัฒน์
- นายมานพ จรัสดำรงนิตย์
- นายนิกร ซัจเดว
- นายเกรียงเดช เข็มทอง
- ดร.เผ่าภูมิ โรจนสกุล
- ศาสตราจารย์ ดร.กิตติ ลิ่มสกุล
- นสพ.ชัย วัชรงค์
- นายจักรพงษ์ แสงมณี
- นายพงศ์กวิน จึงรุ่งเรืองกิจ
- ดร.ณหทัย ทิวไผ่งาม
- ดร.นลินี ทวีสิน
- นายพิชัย นริพทะพันธุ์
- นายพงศกร อรรณนพพร
- ดร.พวงเพ็ชร ชุนละเอียด
- นายสนธยา คุณปลื้ม
- นายภูมิธรรม เวชยชัย
เบอร์เลือกตั้ง ส.ส.บัญชีรายชื่อ “ปาร์ตี้ลิสต์” เลือกตั้ง 2566
การเลือกตั้ง 2566 มีพรรคการเมืองมาลงทะเบียนรวม 67 พรรคการเมือง ดังนี้
เบอร์เลือกตั้ง | พรรค |
---|---|
เบอร์ 1 |
พรรคใหม่ |
เบอร์ 2 |
พรรคประชาธิปไตยใหม่ |
เบอร์ 3 |
พรรคเป็นธรรม |
เบอร์ 4 |
พรรคท้องที่ไทย |
เบอร์ 5 |
พรรคพลังสังคมใหม่ |
เบอร์ 6 |
พรรคครูไทยเพื่อประชาชน |
เบอร์ 7 |
พรรคภูมิใจไทย |
เบอร์ 8 |
พรรคแรงงานสร้างชาติ |
เบอร์ 9 |
พรรคพลัง |
เบอร์ 10 |
พรรคอนาคตไทย |
เบอร์ 11 |
พรรคประชาชาติ |
เบอร์ 12 |
พรรคไทยรวมไทย |
เบอร์ 13 |
พรรคไทยชนะ |
เบอร์ 14 |
พรรคชาติพัฒนากล้า |
เบอร์ 15 |
พรรคกรีน |
เบอร์ 16 |
พรรคพลังสยาม |
เบอร์ 17 |
พรรคเสมอภาค |
เบอร์ 18 |
พรรคชาติไทยพัฒนา |
เบอร์ 19 |
พรรคภาคีเครือข่ายไทย |
เบอร์ 20 |
พรรคเปลี่ยน |
เบอร์ 21 |
พรรคไทยภักดี |
เบอร์ 22 |
พรรครวมไทยสร้างชาติ |
เบอร์ 23 |
พรรครวมใจไทย |
เบอร์ 24 |
พรรคเพื่อชาติ |
เบอร์ 25 |
พรรคเสรีรวมไทย |
เบอร์ 26 |
พรรคประชาธิปัตย์ |
เบอร์ 27 |
พรรคพลังธรรมใหม่ |
เบอร์ 28 |
พรรคไทยพร้อม |
เบอร์ 29 |
พรรคเพื่อไทย |
เบอร์ 30 |
พรรคทางเลือกใหม่ |
เบอร์ 31 |
พรรคก้าวไกล |
เบอร์ 32 |
พรรคไทยสร้างไทย |
เบอร์ 33 |
พรรคไทยเป็นหนึ่ง |
เบอร์ 34 |
พรรคแผ่นดินธรรม |
เบอร์ 35 |
พรรครวมพลัง |
เบอร์ 36 |
พรรคเพื่อชาติไทย |
เบอร์ 37 |
พรรคพลังประชารัฐ |
เบอร์ 38 |
พรรคเพื่อไทรวมพลัง |
เบอร์ 39 |
พรรคมิติใหม่ |
เบอร์ 40 |
พรรคประชาภิวัฒน์ |
เบอร์ 41 |
พรรคไทยธรรม |
เบอร์ 42 |
พรรคไทยศรีวิไลย์ |
เบอร์ 43 |
พรรคพลังสหกรณ์ |
เบอร์ 44 |
พรรคราษฎร์วิถี |
เบอร์ 45 |
พรรคแนวทางใหม่ |
เบอร์ 46 |
พรรคถิ่นกาขาวชาววิไล |
เบอร์ 47 |
พรรครวมแผ่นดิน |
เบอร์ 48 |
พรรคเพื่ออนาคตไทย |
เบอร์ 49 |
พรรครักษ์ผืนป่าประเทศไทย |
เบอร์ 50 |
พรรคพลังปวงชนไทย |
เบอร์ 51 |
พรรคสามัญชน |
เบอร์ 52 |
พรรคชาติรุ่งเรือง |
เบอร์ 53 |
พรรคพลังสังคม |
เบอร์ 54 |
พรรคภราดรภาพ |
เบอร์ 55 |
พรรคไทยก้าวหน้า |
เบอร์ 56 |
พรรคประชาไทย |
เบอร์ 57 |
พรรคพลังเพื่อไทย |
เบอร์ 58 |
พรรคสังคมประชาธิปไตยไทย |
เบอร์ 59 |
พรรคช่วยชาติ |
เบอร์ 60 |
พรรคความหวังใหม่ |
เบอร์ 61 |
พรรคคลองไทย |
เบอร์ 62 |
พรรคพลังไทยรักชาติ |
เบอร์ 63 |
พรรคประชากรไทย |
เบอร์ 64 |
พรรคเส้นด้าย |
เบอร์ 65 |
พรรคเปลี่ยนอนาคต |
เบอร์ 66 |
พรรคพลังประชาธิปไตย |
เบอร์ 67 |
พรรคไทยสมาร์ท |
ขั้นตอน เช็กสิทธิเลือกตั้ง 2566 ผ่านช่องทางออนไลน์ เว็บไซต์ กรมการปกครอง
- ไปที่เว็บไซต์ ตรวจสอบรายละเอียดผู้มีสิทธิเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร (ส.ส.) โดย กรมการปกครอง https://boraservices.bora.dopa.go.th/election/enqelection/
- กรอกเลขประจำตัวประชาชน 13 หลัก แล้วกดปุ่ม “ตรวจสอบ”
- ที่หน้าระบบข้อมูลผู้มีสิทธิเลือกตั้ง จะแสดงผลรายละเอียดผู้มีสิทธิเลือกตั้ง ได้แก่
- ชื่อ จังหวัด และเขตที่มีสิทธิ
- กรณีลงทะเบียนเลือกตั้งล่วงหน้า จะแสดงข้อมูลการขอไปใช้สิทธิล่วงหน้านอกเขตเลือกตั้ง ได้แก่ วันที่เลือกตั้งล่วงหน้า จังหวัดที่ไปใช้สิทธิ สถานที่ที่จะไปใช้สิทธิ และลำดับในบัญชี
วันเลือกตั้ง 2566
- วันอาทิตย์ที่ 14 พฤษภาคม 2566
ตรวจสอบสิทธิเลือกตั้ง 2566 ผ่านช่องทางออนไลน์ BORA PORTAL กรมการปกครอง
- ไปที่เว็บไซต์ BORA PORTAL กรมการปกครอง https://thportal.bora.dopa.go.th
- กดปุ่ม “LOGIN ด้วย ThaID” (กรณียังไม่เคยสมัครใช้บริการ ThaID บัตรประชาชนดิจิทัลของกรมการปกครอง สามารถดูขั้นตอนการสมัครท้ายบทความนี้)
- แสกน QR Code ด้วยแอป ThaID หรือ กดปุ่ม “เข้าสู่ระบบด้วย ThaID”
- เมื่อเข้าสู่ระบบแล้ว ให้เลือกเมนู “ระบบเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร (ส.ส.)”
- เลือก “ตรวจสอบสิทธิเลือกตั้ง”
- ที่หน้าระบบข้อมูลผู้มีสิทธิเลือกตั้ง จะแสดงผลรายละเอียดผู้มีสิทธิเลือกตั้ง ได้แก่
- ชื่อ จังหวัด และเขตที่มีสิทธิ
- กรณีลงทะเบียนเลือกตั้งล่วงหน้า จะแสดงข้อมูลการขอไปใช้สิทธิล่วงหน้านอกเขตเลือกตั้ง ได้แก่ วันที่เลือกตั้งล่วงหน้า จังหวัดที่ไปใช้สิทธิ สถานที่ที่จะไปใช้สิทธิ และลำดับในบัญชี
ลงทะเบียนเปิดใช้บริการ ThaID บัตรประชาชนดิจิทัล กรมการปกครอง
การลงทะเบียนเลือกตั้งนอกเขตผ่าน BORA PORTAL จำเป็นต้องสมัครใช้ ThaID ก่อนลงทะเบียนด้วย ซึ่งเป็นระบบ Digital ID ของกรมการปกครอง เพื่อสร้างระบบการพิสูจน์และยืนยันตัวตนทางดิจิทัลของประเทศรองรับการใช้งานบริการภาครัฐ โดยประชาชนทั่วไปสามารถลงทะเบียนเปิดใช้ ThaID บัตรประชาชนดิจิทัลได้ฟรีที่บ้านโดยไม่ต้องไปแจ้งเขต-อำเภอก็ได้
ขั้นตอนการ ลงทะเบียนบัตรประชาชนดิจิทัล ด้วยตนเอง (พิสูจน์และยืนยันตัวผ่านแอป ThaID)
- โหลดแอป ThaID
- ผู้ใช้งานแอนดรอยด์ (Android) » โหลดผ่าน Google Play Store
- ผู้ใช้งานไอโฟน (iPhone) » โหลดผ่าน Apple App Store
- เลือกหัวข้อลงทะเบียนด้วยตนเอง
- ยอมรับข้อตกลงและเงื่อนไขการใช้บริการเพื่อทำการลงทะเบียนสิ่งแทนเอกลักษณ์ดิจิทัล
- ถ่ายรูปหน้าบัตรประจำตัวประชาชน เมื่อเสร็จแล้วให้ตรวจสอบความชัดเจนและกดปุ่มยืนยันหรือถ่ายใหม่
- ถ่ายรูปหลังบัตรประจำตัวประชาชน เมื่อเสร็จแล้วให้ตรวจสอบความชัดเจนและกดปุ่มยืนยันหรือถ่ายใหม่
- ตรวจสอบข้อมูลบัตรประจำตัวประชาชน หากถูกต้องให้กดยืนยัน
- ถ่ายรูปภาพใบหน้าตนเอง
- ตั้งค่ารหัสผ่านเหมือนกัน 2 ครั้งโดยต้องไม่เรียงกัน และไม่ซ้ำกันเกิน 4 ตัว เช่น 1234, 1111
- ระบบแจ้งเตือนขอความยินยอมโดยระบุรหัสผ่านอีกครั้งเพื่อเข้าใช้งานแอปพลิเคชันครั้งแรก
- เมื่อลงทะเบียนเสร็จสิ้น หน้าจอจะแสดงรูปบัตรประจำตัวประชาชน
ขั้นตอนการ ลงทะเบียนบัตรประชาชนดิจิทัล ผ่านเจ้าหน้าที่
- โหลดแอป ThaID
- ผู้ใช้งานแอนดรอยด์ (Android) » โหลดผ่าน Google Play Store
- ผู้ใช้งานไอโฟน (iPhone) » โหลดผ่าน Apple App Store
- เลือกหัวข้อลงทะเบียนผ่านเจ้าหน้าที่
- นำบัตรประจำตัวประชาชนใบล่าสุด เพื่อให้เจ้าหน้าที่ผู้รับลงทะเบียนทำการตรวจสอบข้อมูลก่อนการลงทะเบียน ณ สำนักทะเบียน
- เปิดแอปพลิเคชัน ThaID พร้อมทั้งอนุญาตให้ใช้อุปกรณ์ของเครื่องโทรศัพท์มือถือ
- ยอมรับข้อตกลงและเงื่อนไขการใช้บริการเพื่อทำการลงทะเบียนสิ่งแทนเอกลักษณ์ดิจิทัล
- ระบุเลขประจำตัวประชาชน 13 หลัก ให้ถูกต้อง
- แสกนลายพิมพ์นิ้วชี้กับเจ้าหน้าที่
- แสกน QR code บนหน้าจอของเจ้าหน้าที่ ด้วยแอพพลิเคชั่น ThaID
- ตั้งค่ารหัสผ่านเหมือนกัน 2 ครั้งโดยต้องไม่เรียงกัน และไม่ซ้ำกันเกิน 4 ตัว เช่น 1234, 1111
- ระบบแจ้งเตือนขอความยินยอมโดยระบุรหัสผ่านอีกครั้งเพื่อเข้าใช้งานแอปพลิเคชันครั้งแรก
- เมื่อลงทะเบียนเสร็จสิ้น หน้าจอจะแสดงรูปบัตรประจำตัวประชาชน
หมายเหตุ: กรณีลืมรหัสผ่าน สามารถรีเซ็ตรหัสผ่านได้ โดยการถ่ายรูปภาพใบหน้าตนเองเพื่อขอสร้างรหัสผ่านใหม่
เรื่องที่น่าสนใจเกี่ยวกับการกำหนดเขตเลือกตั้ง 2566
- จำนวนราษฎรสัญชาติไทยทั่วราชอาณาจักร 65,106,481 คน เมื่อวันที่ 31 ธันวาคม 2565
- กกต. ได้กำหนดเขตเลือกตั้งโดยใช้ฐานเฉลี่ยจำนวนราษฎร 162,766 คน ต่อ สส. แบบแบ่งเขตหนึ่งคน
- เขตเลือกตั้ง 400 เขต สามารถแบ่งจำนวนตามภาคได้ดังนี้
- ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 20 จังหวัด มี 133 เขตเลือกตั้ง (สส. แบบแบ่งเขต 133 คน)
- ภาคกลาง 22 จังหวัด (รวมกรุงเทพมหานคร) มี 122 เขตเลือกตั้ง (สส. แบบแบ่งเขต 122 คน)
- ภาคใต้ 14 จังหวัด มี 60 เขตเลือกตั้ง (สส. แบบแบ่งเขต 60 คน)
- ภาคเหนือ 9 จังหวัด มี 37 เขตเลือกตั้ง (สส. แบบแบ่งเขต 37 คน)
- ภาคตะวันออก 7 จังหวัด มี 29 เขตเลือกตั้ง (สส. แบบแบ่งเขต 29 คน)
- ภาคตะวันตก 5 จังหวัด มี 19 เขตเลือกตั้ง (สส. แบบแบ่งเขต 19 คน)
- กรุงเทพมหานครมีราษฎร 5,394,910 คน จึงได้รับการจัดสรรเขตเลือกมากที่สุด คือ 33 เขตเลือกตั้ง ทำให้มี สส. แบบแบ่งเขตได้ถึง 33 คนในจังหวัดเดียว
- ตราด ระนอง สมุทรสาคร และสิงห์บุรี เป็น 4 จังหวัดที่มีเขตเลือกเพียงจังหวัดละ 1 เขต ทำให้ทั้ง 4 จังหวัดนี้มี สส. แบบแบ่งเขตได้จังหวัดละ 1 คน
- จังหวัดที่มีราษฎรเกิน 1 ล้านคน มีจำนวน 21 จังหวัด
- จังหวัดที่สามารถมี สส. แบบแบ่งเขตได้ 10 คนขึ้นไป มีจำนวน 9 จังหวัด ได้แก่
- กรุงเทพมหานคร ได้ 33 คน
- นครราชสีมา ได้ 16 คน
- ขอนแก่น ได้ 11 คน
- อุบลราชธานี ได้ 11 คน
- ชลบุรี ได้ 10 คน
- เชียงใหม่ ได้ 10 คน
- นครศรีธรรมราช ได้ 10 คน
- บุรีรัมย์ ได้ 10 คน
- อุดรธานี ได้ 10 คน