การขอเงินคืนภาษี เป็นสิทธิที่ผู้เสียภาษีสามารถทำได้หากถูก หักภาษี ณ ที่จ่าย ระหว่างปีไปมากกว่าค่าภาษีที่ตัวเองมีหน้าที่ต้องจ่ายจริงเมื่อคำนวณภาษีเรียบร้อยแล้ว
วิธีการขอเงินคืนภาษี
ในกรณีที่ คำนวณภาษี แล้วพบว่ามีสิทธิได้เงินคืนภาษี ผู้เสียภาษีต้อง ยื่นภาษี เพื่อขอเงินคืนภาษี
ช่วงเวลาการขอคืนภาษี
-
การขอคืนภาษีหลังหมดเวลายื่นภาษี
ในกรณีที่จ่ายภาษีไว้เกินกว่าที่ตัวเองมีหน้าที่ แล้วมานึกได้ทีหลังก็ยังสามารถขอเงินภาษีที่จ่ายเกินนั้นได้โดยการยื่นภาษี (หรือยื่นภาษีเพิ่มเติมย้อนหลัง) แต่ต้องรีบขอคืนภายใน 3 ปีนับจากวันสุดท้ายที่ครบกำหนดยื่นภาษี (อ้างอิง มาตรา 27 ตรี ประมวลรัษฎากร)
-
กำหนดเวลาที่กรมสรรพากรต้องคืนเงินภาษีให้ผู้เสียภาษี
กรมสรรพากรมีหน้าที่ต้องคืนเงินภาษีภายใน 3 เดือนนับจากวันที่ยื่นแบบฯ หรือวันที่ยื่นเอกสารประกอบการขอเงินคืนภาษีเพิ่มเติม (อ้างอิง ข้อ 1 กฎกระทรวง ฉบับที่ 161 (พ.ศ. 2526))
กรณีกรมสรรพากรคืนภาษีให้ล่าช้า
หากกรมสรรพากรคืนภาษีล่าช้า คุณมีสิทธิได้รับเงินคืนภาษีพร้อมดอกเบี้ยในอัตรา 1% ต่อเดือนจนถึงวันที่ลงในหนังสือแจ้งคำสั่งคืนเงิน โดยเริ่มคำนวณดอกเบี้ยตั้งแต่เดือนที่ 4 เป็นต้นไป (มาตรา 4 ทศ ประมวลรัษฎากร,กฎกระทรวง ฉบับที่ 161 (พ.ศ. 2526))
เอกสารที่ต้องใช้ประกอบการขอเงินคืนภาษี
โดยปกติแล้วหากไม่มีข้อสงสัยใดๆ กรมสรรพากรจะอนุมัติเงินคืนภาษีให้ทันที แต่หากมีเหตุสงสัยบางประการ เจ้าหน้าที่อาจขอให้คุณส่งหลักฐานประกอบด้วย ทั้งนี้ ขึ้นอยู่กับประเด็นที่เจ้าหน้าที่สงสัย เช่น หลักฐานการบริจาคเงิน เป็นต้น
ช่องทางการรับเงินคืนภาษี
เมื่อยื่นภาษีแล้วและกรมสรรพากรอนุมัติเงินคืนภาษี คุณสามารถเลือกรับเงินคืนภาษีได้ 2 ช่องทาง ได้แก่
- พร้อมเพย์
- รับเงินคืนภาษีเข้าบัญชีธนาคารกรุงไทย
หมายเหตุ : กรมสรรพากรได้ยกเลิกวิธีการออกเช็คคืนเงินภาษีแล้ว เริ่มตั้งแต่การยื่นภาษีประจำปีภาษี 2561 เป็นต้นไป
อนึ่ง การเลือกรับเงินคืนภาษีเข้าบัญชีธนาคารกรุงไทย สามารถติดต่อได้ที่ธนาคารกรุงไทยทุกสาขา แต่คุณต้องเปิดบัญชีธนาคารกรุงไทยและต้องใช้ หนังสือแจ้งคืนภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา (ค. 21) ที่ได้รับจากกรมสรรพากรด้วย
ตรวจสอบสถานะเงินคืนภาษี
คุณสามารถตรวจสอบได้ด้วยตัวเองผ่านเว็บไซต์กรมสรรพากร www.rd.go.th โดยกรอกชื่อ (ไม่ต้องระบุคำนำหน้าชื่อ), นามสกุล และเลขประจำตัวประชาชน และอย่าลืมว่า
ทุกครั้งที่กลับไปตรวจสอบสถานะเงินคืนภาษี คุณจำเป็นต้องกรอกข้อมูลทั้ง 3 ชุดใหม่ทุกครั้ง
RELATED POSTS
-
เป็นพระต้องเสียภาษีมั๊ยศาสนาพุทธเป็นสิ่งที่อยู่คู่กับสังคมไทยมาช้านาน พระภิกษุในฐานะนักบวชของศาสนาพุทธจึงเป็นที่พึ่งให้พุทธศาสนิกชนในหลายๆ เรื่อง โดยเฉพาะทางด้านจิตใจ ซึ่งหลายๆ ครั้งก็มักจะจบลงด้วยการใส่ซองถวายเงินให้พระแล้วกราบ 3 ครั้ง วันนี้เราจะมาไขข้อข้องใจกันว่า ตามกฎหมายไทยเป็นพระต้องเสียภาษีมั้ย? 1. พระเป็นผู้เสียภาษีได้ไหม? ในมุมมองของปุถุชน เรามักจะมองว่าพระตัดแล้วซึ่งทางโลก แต่กฎหมายไม่ได้มองแบบนั้น กฎหมายยังคงมองว่าพระภิกษุยังคงเป็น บุคคลธรรมดา ตามกฎหมายอยู่ ดังนั้น ถ้าพระมีรายได้ พระก็จะพ่วงตำแหน่ง ผู้เสียภาษี ไปด้วย ในทางกลับกัน ถ้าพระไม่มีรายได้ พระก็ไม่มีหน้าที่เป็นผู้เสียภาษีแต่อย่างใด 2. พระจะมีรายได้ได้ไง? สำหรับพระซึ่งกฎหมายมองว่าเป็นบุคคลธรรมดา ก็ใช้หลักพื้นฐานง่ายๆ ว่าบุคคลธรรมดาคนนั้นมีรายได้ที่ต้องเสียภาษีไหม (หรือที่ศัพท์กฎหมายยากๆ เรียกว่า “เงินได้พึงประเมิน”) ซึ่งนักบวชที่เป็นพระภิกษุในศาสนาพุทธก็อาจจะมีรายได้ที่ต้องเสียภาษีได้ เช่น รายได้จากการสอนหนังสือ บรรยายธรรมให้องค์กรเอกชน ได้รับดอกเบี้ยเงินฝากธนาคาร เป็นต้น 3. แต่ไม่เคยเห็นพระรูปไหนเสียภาษีเลยนะ? ถ้าเงินที่พระได้รับเป็นเงินทำบุญที่ญาติโยมบริจาคเพื่อใช้ประโยชน์ในกิจการศาสนา แบบนี้จะเป็นเงินได้ที่ต้องได้รับยกเว้นภาษีอยู่แล้ว (มาตรา 42(29) ประมวลรัษฎากร) เมื่อเงินที่ได้ได้รับยกเว้นภาษี ก็แปลว่า พระไม่มีเงินได้ที่ต้องเสียภาษี เมื่อไม่มีเงินได้ก็เลยไม่ต้องเสียภาษีนั่นเอง สรุป ที่พระไม่ต้องเสียภาษีไม่ใช่เพราะพระมีสถานะเป็นพระ แต่เป็นเพราะเงินที่พระได้รับเป็นเงินที่ยกเว้นภาษีต่างหาก พระเลยไม่ต้องเสียภาษี ส่วนพระที่มีรายได้นอกเหนือจากเงินทำบุญ ท่านอาจจะมีหน้าที่ต้องเสียภาษีด้วยนะครับ ยังไงถ้าหลวงพี่ทำภาษีไม่เป็นจริงๆ นิมนต์หลวงพี่ใช้ www.itax.in.th ได้ฟรีนะครับ
-
ฟรีแลนซ์ยื่นภาษียังไง?การยื่นภาษีของฟรีแลนซ์ เงินได้ฟรีแลนซ์ถือเป็น เงินได้ประเภท 2 (เงินได้ตามมาตรา 40(2)) และจะต้องใช้ใบ 50 ทวิ (ตั้งแต่ 1 ม.ค. - 31 ธ.ค.) ในการยื่นภาษีเช่นกัน
-
ได้เงินทดแทนประกันสังคมเพราะตกงาน ต้องเสียภาษีมั้ย?พนักงานประจำที่ถูกหักเงินประกันสังคมเดือนละ ฿750 ทุกเดือน จะได้รับเงินทดแทนการขาดรายได้ หรือเงินชดเชยจากประกันสังคม ที่จ่ายให้พนักงานที่ออกจากงาน (ผู้ประกันตน) เพื่อช่วยเหลือในช่วงเวลาที่กำลังหางานประจำใหม่ และเงินทดแทนประกันสังคมก้อนนี้ต้องเสียภาษีหรือไม่?
-
บริจาคให้โรงพยาบาลลดหย่อนภาษีได้แล้วการบริจาคเงินให้โรงพยาบาลรัฐ และสถานพยาบาลของรัฐ สามารถนำมาใช้สิทธิลดหย่อนภาษีได้ 2 เท่า รวมถึงเงินบริจาคโครงการก้าวคนละก้าวก็สามารถลดหย่อนภาษีได้เช่นกัน
-
วันเกิดกับภาษีวันเกิดเป็นปัจจัยสำคัญเกี่ยวกับการคำนวณภาษีและสิทธิประโยชน์ต่างๆ ที่อาจคาดไม่ถึง เพราะภาษีบางรายการมีความเกี่ยวข้องกับเกณฑ์อายุด้วย ดังนั้น วันเกิดของคุณจึงอาจส่งผลให้คุณได้สิทธิ์หรือเสียสิทธิ์ทางภาษีได้ในเวลาเดียวกัน
RELATED POSTS
-
เป็นพระต้องเสียภาษีมั๊ยศาสนาพุทธเป็นสิ่งที่อยู่คู่กับสังคมไทยมาช้านาน พระภิกษุในฐานะนักบวชของศาสนาพุทธจึงเป็นที่พึ่งให้พุทธศาสนิกชนในหลายๆ เรื่อง โดยเฉพาะทางด้านจิตใจ ซึ่งหลายๆ ครั้งก็มักจะจบลงด้วยการใส่ซองถวายเงินให้พระแล้วกราบ 3 ครั้ง วันนี้เราจะมาไขข้อข้องใจกันว่า ตามกฎหมายไทยเป็นพระต้องเสียภาษีมั้ย? 1. พระเป็นผู้เสียภาษีได้ไหม? ในมุมมองของปุถุชน เรามักจะมองว่าพระตัดแล้วซึ่งทางโลก แต่กฎหมายไม่ได้มองแบบนั้น กฎหมายยังคงมองว่าพระภิกษุยังคงเป็น บุคคลธรรมดา ตามกฎหมายอยู่ ดังนั้น ถ้าพระมีรายได้ พระก็จะพ่วงตำแหน่ง ผู้เสียภาษี ไปด้วย ในทางกลับกัน ถ้าพระไม่มีรายได้ พระก็ไม่มีหน้าที่เป็นผู้เสียภาษีแต่อย่างใด 2. พระจะมีรายได้ได้ไง? สำหรับพระซึ่งกฎหมายมองว่าเป็นบุคคลธรรมดา ก็ใช้หลักพื้นฐานง่ายๆ ว่าบุคคลธรรมดาคนนั้นมีรายได้ที่ต้องเสียภาษีไหม (หรือที่ศัพท์กฎหมายยากๆ เรียกว่า “เงินได้พึงประเมิน”) ซึ่งนักบวชที่เป็นพระภิกษุในศาสนาพุทธก็อาจจะมีรายได้ที่ต้องเสียภาษีได้ เช่น รายได้จากการสอนหนังสือ บรรยายธรรมให้องค์กรเอกชน ได้รับดอกเบี้ยเงินฝากธนาคาร เป็นต้น 3. แต่ไม่เคยเห็นพระรูปไหนเสียภาษีเลยนะ? ถ้าเงินที่พระได้รับเป็นเงินทำบุญที่ญาติโยมบริจาคเพื่อใช้ประโยชน์ในกิจการศาสนา แบบนี้จะเป็นเงินได้ที่ต้องได้รับยกเว้นภาษีอยู่แล้ว (มาตรา 42(29) ประมวลรัษฎากร) เมื่อเงินที่ได้ได้รับยกเว้นภาษี ก็แปลว่า พระไม่มีเงินได้ที่ต้องเสียภาษี เมื่อไม่มีเงินได้ก็เลยไม่ต้องเสียภาษีนั่นเอง สรุป ที่พระไม่ต้องเสียภาษีไม่ใช่เพราะพระมีสถานะเป็นพระ แต่เป็นเพราะเงินที่พระได้รับเป็นเงินที่ยกเว้นภาษีต่างหาก พระเลยไม่ต้องเสียภาษี ส่วนพระที่มีรายได้นอกเหนือจากเงินทำบุญ ท่านอาจจะมีหน้าที่ต้องเสียภาษีด้วยนะครับ ยังไงถ้าหลวงพี่ทำภาษีไม่เป็นจริงๆ นิมนต์หลวงพี่ใช้ www.itax.in.th ได้ฟรีนะครับ
-
ฟรีแลนซ์ยื่นภาษียังไง?การยื่นภาษีของฟรีแลนซ์ เงินได้ฟรีแลนซ์ถือเป็น เงินได้ประเภท 2 (เงินได้ตามมาตรา 40(2)) และจะต้องใช้ใบ 50 ทวิ (ตั้งแต่ 1 ม.ค. - 31 ธ.ค.) ในการยื่นภาษีเช่นกัน
-
ได้เงินทดแทนประกันสังคมเพราะตกงาน ต้องเสียภาษีมั้ย?พนักงานประจำที่ถูกหักเงินประกันสังคมเดือนละ ฿750 ทุกเดือน จะได้รับเงินทดแทนการขาดรายได้ หรือเงินชดเชยจากประกันสังคม ที่จ่ายให้พนักงานที่ออกจากงาน (ผู้ประกันตน) เพื่อช่วยเหลือในช่วงเวลาที่กำลังหางานประจำใหม่ และเงินทดแทนประกันสังคมก้อนนี้ต้องเสียภาษีหรือไม่?
-
บริจาคให้โรงพยาบาลลดหย่อนภาษีได้แล้วการบริจาคเงินให้โรงพยาบาลรัฐ และสถานพยาบาลของรัฐ สามารถนำมาใช้สิทธิลดหย่อนภาษีได้ 2 เท่า รวมถึงเงินบริจาคโครงการก้าวคนละก้าวก็สามารถลดหย่อนภาษีได้เช่นกัน
-
วันเกิดกับภาษีวันเกิดเป็นปัจจัยสำคัญเกี่ยวกับการคำนวณภาษีและสิทธิประโยชน์ต่างๆ ที่อาจคาดไม่ถึง เพราะภาษีบางรายการมีความเกี่ยวข้องกับเกณฑ์อายุด้วย ดังนั้น วันเกิดของคุณจึงอาจส่งผลให้คุณได้สิทธิ์หรือเสียสิทธิ์ทางภาษีได้ในเวลาเดียวกัน