รายชื่อ ส.ส.บัญชีรายชื่อ พรรคไทยสร้างไทย – เลือกตั้ง 2566

รายชื่อ ส.ส.บัญชีรายชื่อ (ปาร์ตี้ลิสต์) “พรรคไทยสร้างไทย” เลือกตั้ง 2566 ทั้ง 97 คน โดย พรรคไทยสร้างไทย ได้เบอร์ 32 และส่งผู้สมัคร ส.ส.บัญชีรายชื่อ 97 คน โดยมีลำดับรายชื่อผู้สมัคร ดังต่อไปนี้
- เขตเลือกตั้ง 2566 แยกตามจังหวัด ครบทั้ง 400 เขต (อัพเดตล่าสุด)
- วันหยุดราชการ 2566 ปฏิทินวันหยุดราชการ อัปเดตล่าสุด
รายชื่อ ส.ส.บัญชีรายชื่อ (ปาร์ตี้ลิสต์) พรรคไทยสร้างไทย
- คุณหญิงสุดารัตน์ เกยุราพันธุ์
- นายฐากร ตัณฑสิทธิ์
- นาวาอากาศเอกอนุดิษฐ์ นาครทรรพ
- นายสุพันธุ์ มงคลสุธี
- นาวาอากาศตรีศิธา ทิวารี
- นายอุดมเดช รัตนเสถียร
- นายประวัฒน์ อุตตะโมช
- นายต่อพงษ์ ไชยสาส์น
- พันตำรวจโทกุลธน ประจวบเหมาะ
- นายประพนธ์ เนตรรังษี
- นายธนธัช ตัณฑสิทธิ์
- นางสาวนภัสษนันท์ ศุภโฆษธนานนท์
- นายไชยวัฒน์ หาญสมวงศ์
- นายนพดล มังกรชัย
- นายเทพฤทธิ์ สีน้ำเงิน
- นางสาวธิดารัตน์ ยิ่งเจริญ
- นายราม คุรุวาณิชย์
- นายจิรเดช วรเพียรกุล
- นายณรงค์ รุ่งธนวงศ์
- นายวิจักร อากัปกริยา
- นายฉลอง เทพวิทักษ์กิจ
- นางตัสนีม เจ๊ะตู
- นายพิทักษ์ สันติวงษ์สกุล
- พลตรีไพบูลย์ ควรชม
- นายศักดิ์ณรงค์ ศิริพร ณ ราชสีมา
- นายวิชัย สามิตร
- นายวิสันต์ เดชเสน
- นายธนาวุธ วิชัยดิษฐ
- นายสุจินต์ พิทักษ์
- นายรณกาจ ชินสำราญ
- นายเจตุบัญชา อำรุงจิตชัย
- นายศรัณยู คงสวัสดิ์เกียรติ
- นางภรภัทร โชติกะสุภา
- นายฉัตรพล ขวัญบัว
- นายพงษ์ศิลป์ สิมวิเศษ
- นางสาวนิมิต ตราชู
- นายนำชัย ภู่ไพบูลย์
- พลอากาศตรีณรงค์ชัย คงแก้ว
- นายณัฏฐประชา เกื้อสกุล
- นางภุมรา จันทรสุรินทร์
- นายอดิลัน อาลีอิสเฮาะ
- นายวิชัย หุตังคบดี
- นางสาวบุณฑริกา ประสงค์ดี
- นางสาวนัจภัค กรเกษม
- นายสมพร อิทธิภูวกุล
- พลอากาศเอกภาณุ อดทน
- พลอากาศตรีสุรพล นวะมวัฒน์
- นายไกวัลย์ โรจนานุกูล
- นายศุชัยวุธ ชาวสวนกล้วย
- นายปริเยศ อังกูรกิตติ
- นายสิรสินทร์ ชินทองรัตน์
- นายจำลอง สิงห์โตงาม
- นายภาคิน เจริญนนทสิทธิ์
- นายวิเชียรชนินทร์ สินธุไพร
- นางสาวปวริศา คุณาวรนนท์
- นายโกศล เหมพลชม
- นางสาวอิศยาภรณ์ วงศ์ษานุทัศน์
- นายทูลสวัสดิ์ ยอดมณีบรรพต
- นายสอิสร์ โบราณ
- นายวัลลภ ไชยไธสง
- นายสุระสิทธิ์ สุระพินิจ
- นางพัชรนันท์ นิธิยศจิระโชติ
- นายนรบดี บำรุงพืช
- นางสาวริกาญ์ ปุญฑริกา
- นางณัฏริกา ภัทรลีลา
- นายเสนอ อัศวมันตรา
- นายปราโมทย์ พรมพินิจ
- นายพิกุล บุญมาก
- นายวัชรพงศ์ อึงศรีสวัสดิ์
- นายเสถียร คงปาน
- นายกิตติศักดิ์ ชมจันทร์
- นางสาวอัจฉรา เหลืองสวัสดิ์
- นายธีระศักดิ์ วีระจินตวงศ์
- นายอธิคม อัศวตั้งเสถียร
- นายธีรภาพ ทิบุญมี
- นางสาวรังสิมา ทองพันชั่ง
- นายภาณุน์พล จงชัยธนโรจน์
- นายวัฒนพงษ์ จิตตรี
- นายพงษ์ฐกร ไพริน
- นายมนูญ สรรพวรพงษ์
- นายณธัช อัศดามงคล
- นายณัฏฐ์ อิศรางกูร ณ อยุธยา
- นายธรรศ มีคุณ
- นายกิตติธัช นาสวน
- นางวรนุช ศิริพัฒนานันท์
- นายธีร์วริศ ธรรมนารักษ์
- นายวชิร ทองสุข
- นายจตุรภัทร ดีรัตน์
- นางสาวมีนา หมะเห
- นายเกรียงไกร สมิตสันต์
- นายธวัชชัย ดนตรี
- นายเชย ผลิผล
- นางอรพิน เทียนเสม
- นายธนดล จำรักษา
- นายสุกรี มะดากะกุล
- นายสิทธิ โสพสิงห์
- นายพงษ์ประเสริฐ ฉัตรไชยไพบูลย์
เบอร์เลือกตั้ง ส.ส.บัญชีรายชื่อ “ปาร์ตี้ลิสต์” เลือกตั้ง 2566
การเลือกตั้ง 2566 มีพรรคการเมืองมาลงทะเบียนรวม 67 พรรคการเมือง ดังนี้
อันดับที่ 1ก้าวไกล – 152 ได้จำนวน ส.ส. เขต 113 | บัญชีรายชื่อ 38 |
||
อันดับที่ 2เพื่อไทย – 141 |
อันดับที่ 3ภูมิใจไทย – 70 |
อันดับที่ 4พลังประชารัฐ – 40 |
เขต 112 | บัญชีรายชื่อ 29 |
เขต 67 | บัญชีรายชื่อ 3 |
เขต 39 | บัญชีรายชื่อ 1 |
อันดับที่ 5รวมไทยสร้างชาติ – 36 |
อันดับที่ 6ประชาธิปัตย์ – 25 |
อันดับที่ 7ชาติไทยพัฒนา – 10 |
เขต 23 | บัญชีรายชื่อ 13 |
เขต 22 | บัญชีรายชื่อ 3 |
เขต 9 | บัญชีรายชื่อ 1 |
อันดับที่ 8ประชาชาติ – 9 |
อันดับที่ 9ไทยสร้างไทย – 6 |
อันดับที่ 10เพื่อไทรวมพลัง – 2 |
เขต 7 | บัญชีรายชื่อ 2 |
เขต 5 | บัญชีรายชื่อ 1 |
เขต 2 | บัญชีรายชื่อ 0 |
พรรคอื่นๆ (อันดับ 11 ลงไป)
- ชาติพัฒนากล้า – 2 (เขต 1 | บัญชีรายชื่อ 1)
- เสรีรวมไทย – 1 (เขต 0 | บัญชีรายชื่อ 1)
- ประชาธิปไตยใหม่ – 1 (เขต 0 | บัญชีรายชื่อ 1)
- ใหม่ – 1 (เขต 0 | บัญชีรายชื่อ 1)
- ท้องที่ไทย – 1 (เขต 0 | บัญชีรายชื่อ 1)
- เป็นธรรม – 1 (เขต 0 | บัญชีรายชื่อ 1)
- พลังสังคมใหม่ – 1 (เขต 0 | บัญชีรายชื่อ 1)
- ครูไทยเพื่อประชาชน – 1 (เขต 0 | บัญชีรายชื่อ 1)
หมายเหตุ: ผลการเลือกตั้ง 2566 กรุณารอยืนยันความถูกต้องกับ กกต. อย่างเป็นทางการอีกครั้ง
หมายเลขและรายชื่อพรรคที่ลงสมัครรับเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร 2566
เบอร์เลือกตั้ง | พรรค |
---|---|
เบอร์ 1 | พรรคใหม่ |
เบอร์ 2 | พรรคประชาธิปไตยใหม่ |
เบอร์ 3 | พรรคเป็นธรรม |
เบอร์ 4 | พรรคท้องที่ไทย |
เบอร์ 5 | พรรคพลังสังคมใหม่ |
เบอร์ 6 | พรรคครูไทยเพื่อประชาชน |
เบอร์ 7 | พรรคภูมิใจไทย |
เบอร์ 8 | พรรคแรงงานสร้างชาติ |
เบอร์ 9 | พรรคพลัง |
เบอร์ 10 | พรรคอนาคตไทย |
เบอร์ 11 | พรรคประชาชาติ |
เบอร์ 12 | พรรคไทยรวมไทย |
เบอร์ 13 | พรรคไทยชนะ |
เบอร์ 14 | พรรคชาติพัฒนากล้า |
เบอร์ 15 | พรรคกรีน |
เบอร์ 16 | พรรคพลังสยาม |
เบอร์ 17 | พรรคเสมอภาค |
เบอร์ 18 | พรรคชาติไทยพัฒนา |
เบอร์ 19 | พรรคภาคีเครือข่ายไทย |
เบอร์ 20 | พรรคเปลี่ยน |
เบอร์ 21 | พรรคไทยภักดี |
เบอร์ 22 | พรรครวมไทยสร้างชาติ |
เบอร์ 23 | พรรครวมใจไทย |
เบอร์ 24 | พรรคเพื่อชาติ |
เบอร์ 25 | พรรคเสรีรวมไทย |
เบอร์ 26 | พรรคประชาธิปัตย์ |
เบอร์ 27 | พรรคพลังธรรมใหม่ |
เบอร์ 28 | พรรคไทยพร้อม |
เบอร์ 29 | พรรคเพื่อไทย |
เบอร์ 30 | พรรคทางเลือกใหม่ |
เบอร์ 31 | พรรคก้าวไกล |
เบอร์ 32 | พรรคไทยสร้างไทย |
เบอร์ 33 | พรรคไทยเป็นหนึ่ง |
เบอร์ 34 | พรรคแผ่นดินธรรม |
เบอร์ 35 | พรรครวมพลัง |
เบอร์ 36 | พรรคเพื่อชาติไทย |
เบอร์ 37 | พรรคพลังประชารัฐ |
เบอร์ 38 | พรรคเพื่อไทรวมพลัง |
เบอร์ 39 | พรรคมิติใหม่ |
เบอร์ 40 | พรรคประชาภิวัฒน์ |
เบอร์ 41 | พรรคไทยธรรม |
เบอร์ 42 | พรรคไทยศรีวิไลย์ |
เบอร์ 43 | พรรคพลังสหกรณ์ |
เบอร์ 44 | พรรคราษฎร์วิถี |
เบอร์ 45 | พรรคแนวทางใหม่ |
เบอร์ 46 | พรรคถิ่นกาขาวชาววิไล |
เบอร์ 47 | พรรครวมแผ่นดิน |
เบอร์ 48 | พรรคเพื่ออนาคตไทย |
เบอร์ 50 | พรรคพลังปวงชนไทย |
เบอร์ 51 | พรรคสามัญชน |
เบอร์ 52 | พรรคชาติรุ่งเรือง |
เบอร์ 53 | พรรคพลังสังคม |
เบอร์ 54 | พรรคภราดรภาพ |
เบอร์ 55 | พรรคไทยก้าวหน้า |
เบอร์ 56 | พรรคประชาไทย |
เบอร์ 57 | พรรคพลังเพื่อไทย |
เบอร์ 58 | พรรคสังคมประชาธิปไตยไทย |
เบอร์ 59 | พรรคช่วยชาติ |
เบอร์ 60 | พรรคความหวังใหม่ |
เบอร์ 61 | พรรคคลองไทย |
เบอร์ 62 | พรรคพลังไทยรักชาติ |
เบอร์ 63 | พรรคประชากรไทย |
เบอร์ 64 | พรรคเส้นด้าย |
เบอร์ 65 | พรรคเปลี่ยนอนาคต |
เบอร์ 66 | พรรคพลังประชาธิปไตย |
เบอร์ 67 | พรรคไทยสมาร์ท |
ขั้นตอน เช็กสิทธิเลือกตั้ง 2566 ผ่านช่องทางออนไลน์ เว็บไซต์ กรมการปกครอง
- ไปที่เว็บไซต์ ตรวจสอบรายละเอียดผู้มีสิทธิเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร (ส.ส.) โดย กรมการปกครอง https://boraservices.bora.dopa.go.th/election/enqelection/
- กรอกเลขประจำตัวประชาชน 13 หลัก แล้วกดปุ่ม “ตรวจสอบ”
- ที่หน้าระบบข้อมูลผู้มีสิทธิเลือกตั้ง จะแสดงผลรายละเอียดผู้มีสิทธิเลือกตั้ง ได้แก่
- ชื่อ จังหวัด และเขตที่มีสิทธิ
- กรณีลงทะเบียนเลือกตั้งล่วงหน้า จะแสดงข้อมูลการขอไปใช้สิทธิล่วงหน้านอกเขตเลือกตั้ง ได้แก่ วันที่เลือกตั้งล่วงหน้า จังหวัดที่ไปใช้สิทธิ สถานที่ที่จะไปใช้สิทธิ และลำดับในบัญชี
วันเลือกตั้ง 2566
- วันอาทิตย์ที่ 14 พฤษภาคม 2566
ตรวจสอบสิทธิเลือกตั้ง 2566 ผ่านช่องทางออนไลน์ BORA PORTAL กรมการปกครอง
- ไปที่เว็บไซต์ BORA PORTAL กรมการปกครอง https://thportal.bora.dopa.go.th
- กดปุ่ม “LOGIN ด้วย ThaID” (กรณียังไม่เคยสมัครใช้บริการ ThaID บัตรประชาชนดิจิทัลของกรมการปกครอง สามารถดูขั้นตอนการสมัครท้ายบทความนี้)
- แสกน QR Code ด้วยแอป ThaID หรือ กดปุ่ม “เข้าสู่ระบบด้วย ThaID”
- เมื่อเข้าสู่ระบบแล้ว ให้เลือกเมนู “ระบบเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร (ส.ส.)”
- เลือก “ตรวจสอบสิทธิเลือกตั้ง”
- ที่หน้าระบบข้อมูลผู้มีสิทธิเลือกตั้ง จะแสดงผลรายละเอียดผู้มีสิทธิเลือกตั้ง ได้แก่
- ชื่อ จังหวัด และเขตที่มีสิทธิ
- กรณีลงทะเบียนเลือกตั้งล่วงหน้า จะแสดงข้อมูลการขอไปใช้สิทธิล่วงหน้านอกเขตเลือกตั้ง ได้แก่ วันที่เลือกตั้งล่วงหน้า จังหวัดที่ไปใช้สิทธิ สถานที่ที่จะไปใช้สิทธิ และลำดับในบัญชี
ลงทะเบียนเปิดใช้บริการ ThaID บัตรประชาชนดิจิทัล กรมการปกครอง
การลงทะเบียนเลือกตั้งนอกเขตผ่าน BORA PORTAL จำเป็นต้องสมัครใช้ ThaID ก่อนลงทะเบียนด้วย ซึ่งเป็นระบบ Digital ID ของกรมการปกครอง เพื่อสร้างระบบการพิสูจน์และยืนยันตัวตนทางดิจิทัลของประเทศรองรับการใช้งานบริการภาครัฐ โดยประชาชนทั่วไปสามารถลงทะเบียนเปิดใช้ ThaID บัตรประชาชนดิจิทัลได้ฟรีที่บ้านโดยไม่ต้องไปแจ้งเขต-อำเภอก็ได้
ขั้นตอนการ ลงทะเบียนบัตรประชาชนดิจิทัล ด้วยตนเอง (พิสูจน์และยืนยันตัวผ่านแอป ThaID)
- โหลดแอป ThaID
- ผู้ใช้งานแอนดรอยด์ (Android) » โหลดผ่าน Google Play Store
- ผู้ใช้งานไอโฟน (iPhone) » โหลดผ่าน Apple App Store
- เลือกหัวข้อลงทะเบียนด้วยตนเอง
- ยอมรับข้อตกลงและเงื่อนไขการใช้บริการเพื่อทำการลงทะเบียนสิ่งแทนเอกลักษณ์ดิจิทัล
- ถ่ายรูปหน้าบัตรประจำตัวประชาชน เมื่อเสร็จแล้วให้ตรวจสอบความชัดเจนและกดปุ่มยืนยันหรือถ่ายใหม่
- ถ่ายรูปหลังบัตรประจำตัวประชาชน เมื่อเสร็จแล้วให้ตรวจสอบความชัดเจนและกดปุ่มยืนยันหรือถ่ายใหม่
- ตรวจสอบข้อมูลบัตรประจำตัวประชาชน หากถูกต้องให้กดยืนยัน
- ถ่ายรูปภาพใบหน้าตนเอง
- ตั้งค่ารหัสผ่านเหมือนกัน 2 ครั้งโดยต้องไม่เรียงกัน และไม่ซ้ำกันเกิน 4 ตัว เช่น 1234, 1111
- ระบบแจ้งเตือนขอความยินยอมโดยระบุรหัสผ่านอีกครั้งเพื่อเข้าใช้งานแอปพลิเคชันครั้งแรก
- เมื่อลงทะเบียนเสร็จสิ้น หน้าจอจะแสดงรูปบัตรประจำตัวประชาชน
ขั้นตอนการ ลงทะเบียนบัตรประชาชนดิจิทัล ผ่านเจ้าหน้าที่
- โหลดแอป ThaID
- ผู้ใช้งานแอนดรอยด์ (Android) » โหลดผ่าน Google Play Store
- ผู้ใช้งานไอโฟน (iPhone) » โหลดผ่าน Apple App Store
- เลือกหัวข้อลงทะเบียนผ่านเจ้าหน้าที่
- นำบัตรประจำตัวประชาชนใบล่าสุด เพื่อให้เจ้าหน้าที่ผู้รับลงทะเบียนทำการตรวจสอบข้อมูลก่อนการลงทะเบียน ณ สำนักทะเบียน
- เปิดแอปพลิเคชัน ThaID พร้อมทั้งอนุญาตให้ใช้อุปกรณ์ของเครื่องโทรศัพท์มือถือ
- ยอมรับข้อตกลงและเงื่อนไขการใช้บริการเพื่อทำการลงทะเบียนสิ่งแทนเอกลักษณ์ดิจิทัล
- ระบุเลขประจำตัวประชาชน 13 หลัก ให้ถูกต้อง
- แสกนลายพิมพ์นิ้วชี้กับเจ้าหน้าที่
- แสกน QR code บนหน้าจอของเจ้าหน้าที่ ด้วยแอพพลิเคชั่น ThaID
- ตั้งค่ารหัสผ่านเหมือนกัน 2 ครั้งโดยต้องไม่เรียงกัน และไม่ซ้ำกันเกิน 4 ตัว เช่น 1234, 1111
- ระบบแจ้งเตือนขอความยินยอมโดยระบุรหัสผ่านอีกครั้งเพื่อเข้าใช้งานแอปพลิเคชันครั้งแรก
- เมื่อลงทะเบียนเสร็จสิ้น หน้าจอจะแสดงรูปบัตรประจำตัวประชาชน
หมายเหตุ: กรณีลืมรหัสผ่าน สามารถรีเซ็ตรหัสผ่านได้ โดยการถ่ายรูปภาพใบหน้าตนเองเพื่อขอสร้างรหัสผ่านใหม่
เรื่องที่น่าสนใจเกี่ยวกับการกำหนดเขตเลือกตั้ง 2566
- จำนวนราษฎรสัญชาติไทยทั่วราชอาณาจักร 65,106,481 คน เมื่อวันที่ 31 ธันวาคม 2565
- กกต. ได้กำหนดเขตเลือกตั้งโดยใช้ฐานเฉลี่ยจำนวนราษฎร 162,766 คน ต่อ สส. แบบแบ่งเขตหนึ่งคน
- เขตเลือกตั้ง 400 เขต สามารถแบ่งจำนวนตามภาคได้ดังนี้
- ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 20 จังหวัด มี 133 เขตเลือกตั้ง (สส. แบบแบ่งเขต 133 คน)
- ภาคกลาง 22 จังหวัด (รวมกรุงเทพมหานคร) มี 122 เขตเลือกตั้ง (สส. แบบแบ่งเขต 122 คน)
- ภาคใต้ 14 จังหวัด มี 60 เขตเลือกตั้ง (สส. แบบแบ่งเขต 60 คน)
- ภาคเหนือ 9 จังหวัด มี 37 เขตเลือกตั้ง (สส. แบบแบ่งเขต 37 คน)
- ภาคตะวันออก 7 จังหวัด มี 29 เขตเลือกตั้ง (สส. แบบแบ่งเขต 29 คน)
- ภาคตะวันตก 5 จังหวัด มี 19 เขตเลือกตั้ง (สส. แบบแบ่งเขต 19 คน)
- กรุงเทพมหานครมีราษฎร 5,394,910 คน จึงได้รับการจัดสรรเขตเลือกมากที่สุด คือ 33 เขตเลือกตั้ง ทำให้มี สส. แบบแบ่งเขตได้ถึง 33 คนในจังหวัดเดียว
- ตราด ระนอง สมุทรสาคร และสิงห์บุรี เป็น 4 จังหวัดที่มีเขตเลือกเพียงจังหวัดละ 1 เขต ทำให้ทั้ง 4 จังหวัดนี้มี สส. แบบแบ่งเขตได้จังหวัดละ 1 คน
- จังหวัดที่มีราษฎรเกิน 1 ล้านคน มีจำนวน 21 จังหวัด
- จังหวัดที่สามารถมี สส. แบบแบ่งเขตได้ 10 คนขึ้นไป มีจำนวน 9 จังหวัด ได้แก่
- กรุงเทพมหานคร ได้ 33 คน
- นครราชสีมา ได้ 16 คน
- ขอนแก่น ได้ 11 คน
- อุบลราชธานี ได้ 11 คน
- ชลบุรี ได้ 10 คน
- เชียงใหม่ ได้ 10 คน
- นครศรีธรรมราช ได้ 10 คน
- บุรีรัมย์ ได้ 10 คน
- อุดรธานี ได้ 10 คน